ผศ.ดร.อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์

10 ตุลาคม 2559 (ผู้ดูแลระบบ) ข้อมูลอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา   เกษตรศาสตร์

2.  ชื่อ – สกุล      นางอิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์             

3. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4. สังกัด  คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

5. ประวัติการศึกษา 

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

 ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วท.บ.

เกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์)

2528

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วท.ม.

เกษตรศาสตร์ (ปฐพีวิทยา)

2538

 ปริญญาเอก

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปร.ด.

การจัดการทรัพยากรเกษตรเขตร้อน(การจัดการทรัพยากรดิน)

2558

 ประวัติการศึกษาอื่น ๆ 

วุฒิ

วิชาเอก

สถาบัน

พ.ศ.

Certificate

Research study in agriculture

Kyoto University of Education, Japan

2541-2543

(1 ปี 6 เดือน)

 

-

Training in Quality Control of Plant Analysis and Laboratory Management

University of Queensland และ C.S.I.R.O Canning Ham Laboratory, Australia

2535 (3 เดือน)

 Certificate

Intensive English Study

Sain University, Malaysia

2552 (6 สัปดาห์)

    6. ผลงานทางวิชาการ(เขียนตามรูปแบบการอ้างอิงและบรรณานุกรม)

       6.1 งานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่

  1)  อิสริยาภรณ์   ดำรงรักษ์ และโรส เจ๊ะแวมาเจ. 2549. การเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดเป็นด่าง ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และจุลธาตุ ภายหลังการใส่ปูนแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในดิน

       กรดจัด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 1(1):21-29.

   2)  อิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์ และ นชา  วารี. ความเป็นไปได้ในการใช้สารอื่นทดแทนสารละลายธาตุอาหารพืชในการปลูกผักกาดฮ่องเต้โดยระบบไฮโดรโพนิกส์. รายงานประชุมวิชาการพืช

       สวนแห่งชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 26-29 เมษายน 2548. ณ โรงแรมเวลคัมจอมเทียนบีช จังหวัดชลบุรี.

   3) อิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์  ประยูร  ดำรงรักษ์ และ นชา วารี. พื้นที่ปลูก ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของส้มโชกุนที่ปลูกในจังหวัดยะลา. รายงานประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 6

       วันที่ 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

   4) อิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์  ประยูร  ดำรงรักษ์  และ ฐิตินันท์   สุวรรณพรรค. สถานะธาตุอาหารพืช ในดินปลูกส้มโชกุนของจังหวัดยะลา. รายงานประชุมวิชาการครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏ

       ยะลา. วันที่ 5 ธันวาคม 2549. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

   5) อิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์  ประยูร  ดำรงรักษ์  และ ฐิตินันท์   สุวรรณพรรค.  สมบัติทางเคมีของดินภายนอกและภายในทรงพุ่มส้มโชกุน  รายงานประชุมวิชาการวันเกษตรแห่งชาติปี 2551. 

       ณ.มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 8-10 กันยายน  2551.

   6) อิสริยาภรณ์  ดำรงรักษ์ ประยูร  ดำรงรักษ์ วัลยา รุ่งโรจน์กำเนิด และ สุรัสวดี กลับอินทร์. องค์ประกอบทางเคมีของอินทรีย์วัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิตทางการเกษตรและ

       อุตสาหกรรมในเขตจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9(1) : เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

   7) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์ พัลภภ ไชยโป ภูมิ จันทร์อุทัย เสน่ห์ พงศาปาน. 2554. ผลของถ่านและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต และ ผลผลิตของข้าวโพดฝักอ่อนในดินทรายจัด.  วารสารมหาวิทยาลัย

       ราชภัฏยะลา. 6(1):36-49.

   8) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์ ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ และ อับดุลรอฮิม เปาะอีแต. 2554. ผลของการใช้ปุ๋ยต่อปริมาณจุลินทรีย์ในดินปลูกยางพารา. รายงานประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 2

      ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันที่ 11-13 พฤษภาคม 2554.

   9) Damrongrak, I. Onthong, J. and Nilnon, C. 2014. Short-term improvement of tropical acid soil on the growth and nutrient status of tapping rubber

      (Mull). In Proceeding of  PSU-USM-NSTRU International Conference Hevea brasiliensis on Arts and Social sciences. 2-3 June, 2014.

  10) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์ จำเป็น อ่อนทอง และชัยรัตน์ นิลนนท์. 2557. ผลของความเป็นกรดเป็นด่างของดินและจุลธาตุบางชนิดต่อการเจริญเติบโตและการดูดดึงธาตุอาหารพืชในสวน

        ยางพารา. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 32(3):36-44.

  11)  อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์ ประยูร ดำรงรักษ์ และศศิธร พังสุบรรณ. 2558. สมบัติของดิน สถานะธาตุอาหารพืชในใบ และการเจริญเติบโตของยางพาราที่ปลูกในพื้นที่นาร้าง. ในรายงาน

        สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติครั้งที่ 4 ณ โรงแรมหรรษา เจ.บี. อ.หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. หน้า 421-428. จัดโดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ

        มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ร่วมกับกรมพัฒนาที่ดิน และสมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย.

 12)  อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์ ประยูร ดำรงรักษ์ และศศิธร พังสุบรรณ. 2558. สมบัติของดิน สถานะธาตุอาหารพืชในใบ และการเจริญเติบโตของยางพาราที่ปลูกในพื้นที่นาร้าง. วารสารพืชศาสตร์

        สงขลานครินทร์ 2(3) กรกฏาคม-กันยายน: 17-22.   ได้รับการคัดเลือกตีพิมพืในวารสารจากประชุมวิชาการ

  13)  Damrongrak, I. Onthong, J. and Nilnon, C. 2015.Effect of  fertilizer and dolomite application on growth and yield of tapping rubber trees. Songklanakarin J.

       Sci.Technol. 37(6):643-650.

  14) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์  มะรูดิง มูซอ และอาซูวัณ เบ็ญมะ. 2559. ผลของการปรับปรุงดินด้วยถ่านชีวภาพและถ่านธรรมดาต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดฝักอ่อน. รายงานสืบ

       เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5 วันที่  24-26 เมษายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

 

6.2  บทความวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่

1) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2545. การใช้ประโยชน์จากน้ำทะเลเพื่อการเพาะปลูก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 6 เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ.วารสารวิทยาศาสตร์

2) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2548. หญ้าแฝก: พืชแห่งการอนุรักษ์ดินและน้ำ.  วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปีที่ 9 เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ.

3) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2550. ธาตุอาหารพืชกับคุณภาพผลผลิตส้มโชกุน.  วาราสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2(1):56-74.

4) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2552. การใช้ถ่านจากการเผาในสภาพอับอากาศในการปรับปรุงดิน.  วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 6(1): 36-49.

5) Issariyaporn Damrongrak. 2012. Influence of rubber plantation on soil fertility and greenhouse gas emission . Rajabhat Yala Journal 7(1):48-60.

6) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2557. 5 ธันวาคม วันดินโลกสู่ 2558 ปีดินสากล. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 19 เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ.วารสารวิทยาศาสตร์

 

6.3 หนังสือ /เอกสารทางวิชาการ1)

1) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2548. ปฐพีวิทยา. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

2) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2548. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเทคโนโลยีการผลิตและการใช้ปุ๋ย คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

 3) อิสริยาภรณ์ ดำรงรักษ์. 2554. คู่มือปฏิบัติการปฐพีวิทยา.  คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

 4) อิสริยาภรณ์  สุวรรณชาตรี. 2539. การวิเคราะห์พืช. หน่วยปฏิบัติการวิเคราะห์กลางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขา

 

     เอกสารประกอบการสอนจากการค้นคว้าและรวบรวม

1) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาหลักการขยายพันธุ์พืช

2) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาอุตุนิยมวิทยาและการชลประทานเพื่อการเกษตร

3) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาปลูกพืชไร้ดิน

4) เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการจัดการและอนุรักษ์ดินเพื่อการเกษตร

 

7.  ประสบการณ์ทางวิชาการ

     7.1  ประสบการณ์การสอน

            7.1.1  ระดับปริญญาตรี    17    ปี

วิชาปฐพีวิทยา

3(2-2-5)     

วิชาการจัดการและอนุรักษ์ดินเพื่อการเกษตร

3(2-2-5)

วิชาเกษตรกรรมยั่งยืน

3(3-0-6)

วิชาการปลูกพืชไร้ดิน

3(2-2-5)

วิชาอุตุนิยมวิทยาและการชลประทานเพื่อการเกษตร

3(2-2-5)

วิชาหลักการขยายพันธุ์พืช

3(2-2-5)  

วิชาไม้ดอกไม้ประดับ

3(2-2-5)

วิชาสัมมนาเพื่อการเกษตร

1(0-2-1)

วิชาปัญหาพิเศษเกษตร

3(1-8-0)

วิชาฝึกประสบการวิชาชีพเกษตร                                   

6(540)

 

            7.1.2  ระดับปริญญาโท      -   ปี

                   ชื่อวิชา                  -

7.2   ประสบการณ์การเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/กรรมการสอบวิทยานิพนธ์

           การสอบวิทยานิพนธ์

1. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท   สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรดิน คณะทรัพยากรธรรมชาติ   มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   วันที่ 6 พ.ย. 2558  เรื่อง ผลของการปรับปรุงสมบัติดินเหมืองแร่ร้างและการเจริญเติบโตของพืชโดยใช้สารปรับปรุงดิน   วิทยาเขตหาดใหญ่