หลักสูตรชีววิทยาประยุกต์
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

ผศ.ดร.อิสมะแอ เจ๊ะหลง

ผลงานทางวิชาการ

1. งานวิจัย

อิสมะแอ เจ๊ะหลง มูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี และอาเด่น ปาลนกวิน (2558). ความหลากหลายทางชีวภาพบนเขา สลินดงบายูและการใช้ประโยชน์ทางการ     ศึกษาในจังหวัดปัตตานีภายใต้ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนใต้. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลงและมูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี (2558). ประชากรเห็บและความหลากหลายทางชีวภาพของ จุลชีพก่อโรคที่มีเห็บเป็นพาหะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

อิสมะแอ  เจ๊ะหลงและลักขณา รักขพันธ์. (2558). ลักษณะทางพฤกษศาสตร์และเรณูวิทยาของต้นจันทน์กะพ้อ (Vatica diospyroides Symington) เพื่อประเมินศักยภาพในการขยายพันธุ์และการคัดเลือกพันธุกรรมที่ดี (ระยะที่ 1). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2557). การผลิตและใช้น้ำส้มควันไม้เพื่อเป็นสารจับก้อนยางสำหรับลดความเสียหายจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลงและลัขณา รักขพันธ์. (2557). ผลของความเข้มข้นน้ำส้มควันไม้ต่อการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพของกล้ายางพาราพันธุ์ RRIM 600 (Hevea brasiliensis). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2556). แนวทางการจัดการความแปรปรวนของผลผลิตและคุณภาพของส้มโชกุนภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ. กรุงเทพฯ : ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

อิสมะแอ เจ๊ะหลงและลักขณา รักขพันธ์. (2554). สัณฐานวิทยาเรณูของพรรณไม้ป่าชายเลนยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี, ประเทศไทย. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2554). เรณูในน้ำผึ้ง. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2554). การบานดอก ความมีชีวิตของเรณู ชีวพาหะและการถ่ายเรณูของส้มโชกุน. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลงและอิลีหย๊ะ สนิโซ. (2554). การสังเกตการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่มีต่อการแตกยอด ชีววิทยาดอก ชีวพาหะ การถ่ายเรณูและการติดผลของส้มโชกุน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2554). โลกร้อนกับปากใบของพืชบางชนิดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2553). เรณูวิทยาของพืชบางชนิดในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2553). ผลของน้ำส้มควันไม้ที่มีต่อจำนวนปากใบ ลักษณะใบ พื้นที่ใบ ขนาดท่อไซเล็มและการคายน้ำของผักบุ้งจีน. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสมะแอ เจ๊ะหลงและศศิธร พังสุบรรณ. (2553). การเจริญเติบโตและแมลงศัตรูของอินทผาลัม. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

2. บทความ

Chelong, I. and Sdoodee, S. (2013). Climate variability and degree-day affecting development, yield and quality on Shogun (Citrus reticulata Blanco) in Southern Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.) 47 : 333-341.

Chelong, I. and Sdoodee, S. (2012). Pollen viability, pollen germination and pollen tube growth of Shogun (Citrus reticulata Blanco) under climate variability in southern Thailand. Journal of Agricultural Technology 8 : 2297-2307.

Chelong, I. (2011). Palynology of Cultivated Plant Species at Yala Rajabhat University, Thailand. KKU Sci. J.39 (3) 433-446.

อิสมะแอ  เจ๊ะหลง, อลภา ทองไชย และอาเด่น ปาลนกวิน. (2559). ความแปรปรวนของสภาพอากาศต่อฟีโนโลยีของโกงกางใบเล็กในป่าชายเลนยะหริ่ง. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 44 (1) : 69-78.

อิสมะแอ  เจ๊ะหลง. (2558). เรณูวิทยาของน้ำผึ้งในอำเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 1 : 87-103.

อิสมะแอ  เจ๊ะหลง และอลภา ทองไชย. (2558). ความหลากหลายของพืชบนเขาสลินดงบายู อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี. การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 (The Third Higher Education Research Promotion Congress) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 9-11 มีนาคม 2558 หน้า 104.

มูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี และอิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2558). ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็บในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย. การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 3 (The Third Higher Education Research Promotion Congress) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 9-11 มีนาคม 2558 หน้า 103.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง และลักขณา รักขพันธ์. (2558). ผลของน้ำส้มควันไม้ต่อการเจริญเติบโตของกล้ายางพาราพันธุ์ RRIM600 (Hevea brasiliensis). วารสารแก่นเกษตร 43 (3) : 585-590

อิสมะแอ  เจ๊ะหลง และศิริวิทย์ วัสวัฒิวงศ์. (2557). รูปพรรณสัณฐานและการกระจายตัวของขมิ้นชันใน 3 จังหวัดชายแดนใต้. ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 14 สิงหาคม 2557

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2552). ผลของมูลไก่ต่อการเจริญเติบโตของกล้ายางพารา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 1 : 1-11.

อิสมะแอ เจ๊ะหลง และวิจิตต์วรรณชิต. (2550). ชีววิทยาดอกและการถ่ายละอองเรณูของส้มจุก (Citrus reticulata Blanco). วารสารวิชาการเกษตร 25(1) : 58-73.

3. หนังสือ /เอกสารทางวิชาการ

อิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาชีววิทยาทั่วไป. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

4. รางวัลเชิดชู

   4.1 รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น ประจำปี 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา