หลักสูตรชีววิทยาประยุกต์
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

ปีการศึกษา 2556

1. ลักษณะทางสัณฐานของพืชสมุนไพรในตำรับยาพื้นบ้านที่ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ตำบลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพืชมีพิษในเขตพื้นที่หมู่บ้านสโลว์ ตำบลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

3. พืชหายากในพื้นที่ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

4. ความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา

5. หญ้าทะเลในอ่าวปัตตานี เขตพื้นที่ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

6. การใช้น้ำหมักชีวภาพและน้ำคั้นสดจากผลไม้ มะขาม (Tamarindus indica L.) มะยม (Phyllanthus acidus (L). Skeels.) สับปะรด (Ananas comosus (L.) Merr.) และตะลิงปลิง (Averrsoa bilimbi L.) เพื่อใช้ทำยางก้อนถ้วยและการยับยั้งเชื้อรา

7. การใช้น้ำหมักชีวภาพและน้ำคั้นสดจากใบพืช ชะมวง (Garcinia cowa Roxb.) มะกอก (Spondias cytherea Sonn.) มะขาม (Tamarindus indica L.) และส้มแขก (Garcinia cambogia Desr.) เพื่อใช้ทำยางก้อนถ้วยและการยับยั้งเชื้อรา

8. การใช้น้ำหมักชีวภาพและน้ำคั้นสดจากใบพืช ชะมวง (Garcinia cowa Roxb.) ส้มแขก (Garcinia cambogia Desr.) มะกอก (Spondias cytherea Sonn.) และมะขาม (Tamarindus indica L.) เพื่อใช้ทำยางแผ่นผึ่งแห้งและการยับยั้งเชื้อรา

9. การใช้น้ำหมักชีวภาพและน้ำคั้นสดจากผลไม้ ตะลิงปลิง (Averrsoa bilimbi L.) สับปะรด (Ananas comosus (L.) Merr.) มะขาม (Tamarindus indica L.) และมะยม (Phyllanthus acidus (L). Skeels.) เพื่อใช้ทำยางแผ่นผึ่งแห้งและการยับยั้งเชื้อรา

10. ผลของพืชอาหาร 4 ชนิดต่อการเจริญเติบโตของหนอนนก (Tenebrio molitor L.)

11. การเจริญเติบโตของหนอนนก (Tenebrio molitor L.) ด้วยสูตรอาหารต่างชนิดกัน

12. การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของหนอนนก (Tenebrio molitor L.) ด้วยสูตรอาหารต่างชนิดกัน

13. การเปรียบเทียบอัตราการเกิดลูกของปลาหางนกยูงที่สภาวะแตกต่างกัน

14. การใช้พืชท้องถิ่นในการบ่มกล้วยหิน

15. ชนิดของเชื้อราบนยางพาราแผ่นผึ่งแห้ง

16. ความหลากหลายของแมลงในตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

17. ความหลากหลายของแมลงในตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

18. ความหลากหลายของแมลงในตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

19. องค์ประกอบและปริมาณธาตุอาหารของปุ๋ยมูลไส้เดือนดินสายพันธุ์ Eisenia foetida

20. การย่อยสลายกระดาษหนังสือพิมพ์และทางปาล์ม โดยไส้เดือนดินสายพันธุ์ Eisenia foetida เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์