หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีประยุกต์

ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.อิมรอน มีชัย

1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร         หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

                                                           สาขาวิชาเคมีประยุกต์

2. ชื่อ – สกุล                                       ดร.อิมรอน มีชัย 

3 ตำแหน่งทางวิชาการ                       ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.  สังกัด                                             คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

5. ประวัติการศึกษา

 

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาเอก

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ปร.ด.

เคมี

2559

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภ.ม.

เภสัชศาสตร์

2553

ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ 2

เคมี

2550

 

 

6. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง

(ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)

 

6.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ                                                  
         ไม่มี

6.1.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง

6.1.2 ตำรา หนังสือ

6.1.3 บทความทางวิชาการ

         6.1.3.1 ในวารสารทางวิชาการ

         6.1.3.2 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

         6.1.3.3 ใน Proceedings ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                     ประเมิน และตรวจสอบ

6.2 ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

      6.2.1 บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

อิมรอน มีชัย ดรุณี ยือแร และอิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2564). การวิเคราะห์สารพฤกษเคมีเบื้องต้น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการเตรียมโลชั่นผสมสารสกัดพรอพอลิสจากผึ้งชันโรง. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
        ราชมงคลศรีวิชัย
. 13 (2) : 408-421

อิมรอน มีชัย คอรีเยาะ มาฮามะ อิสมะแอ เจ๊ะหลง และอัซอารีย์ สุขสุวรรณ. (2564). ผลของการเก็บรักษาพรอพอลิสของผึ้งชันโรงต่อปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอสิระ. วารสารวิจัย มข.
        (ฉบับบัณฑิตศึกษา)
. 4 (2) : 140-151.

อิมรอน มีชัย รอกีเยาะ มะและ และอิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2563). สารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้ำผึ้งชันโรงและการเตรียมเจลสบู่เหลวผสมน้ำผึ้งชันโรง. วารสารวิชาการซายน์เทค มรภ.ภูเก็ต. 4 (2) :
        23-32.

อิมรอน มีชัย และอิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2563). ผลของช่วงเวลาในการเก็บเกี่ยวพรอพอลิสของชันโรงต่อปริมาณฟลาโวนอยด์รวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 38 (3) : 363-369.

     Imron Meechai and Anisah Baka. (2023). Optimum Conditions and Comparison of Extraction Methods of Red Roselle Water on the Contents of Anthocyanin, Total Phenolic, Total Flavonoid,
            and Anti-Radical Scavenging Activity. Progress in Applied Science and Technology. 13 (2) : 38-44.

     Imron Meechai Isma-ae Chelong and Romlee Chedoloh. (2021). The Optimum Storage Conditions on the Quality of the Stingless bee Honey. Journal of Physics: Conference Series. 2049:
            012003.

           6.2.2 บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

                     ไม่มี

           6.2.3 บทความวิจัยใน Proceedings ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                   ประเมินและตรวจสอบ

อิมรอน มีชัย และสุไอนี ขะหมิ๊. (2566). ผลของสารสกัดและระบบตัวทําละลายต่อประสิทธิภาพ         ในการเอนแคปซูเลชั่นของสารสกัดพรอพอลิสจากชันโรงด้วยโซเดียมอัลจิเนต. ในรายงานประชุมวิชาการแบบ
        สืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่
8 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่
        1 ระหว่างวันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566
(หน้า 1-8). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ฟิรดาว์ อาเนาะบีรา ไซนับ อาหามะ สุนีย์ แวมะ ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ อิสมะแอ เจ๊ะหลง และ อิมรอน มีชัย. (2564). ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคทางเดินอาหารและการเตรียมสารสกัดพรอพอลิสผงจากผึ้งชันโรง. ใน
        การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 เรื่อง “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับวิถีชีวิตใหม่เพื่อความยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า
        27-31). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา.

ไซนับ อาหามะ ฟิรดาว์ อาเนาะบีรา สุนีย์ แวมะ ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ อิสมะแอ เจ๊ะหลง และ อิมรอน มีชัย. (2564). ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรค ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวมของสารสกัดพรอพอลิส และการ   
        เตรียมครีมบำรุงมือผสมสารสกัดพรอพอลิส. ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 เรื่อง “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับวิถีชีวิตใหม่เพื่อความ
        ยั่งยืน”
ระหว่างวันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า 209-216). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา.

รุสนี ยูโซ๊ะ, อัสมะ ฮามะ, อิมรอน มีชัย และอิสมะแอ เจ๊ะหลง. (2563). ความแตกต่างของสายพันธุ์ผึ้งชันโรงต่อคุณสมบัติทางเคมีกายภาพของน้ำผึ้ง. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้าน
        วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 5
ระหว่างวันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2563 (หน้า 1418–1421). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

6.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

      ไม่มี

     6.3.1   สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์

     6.3.2   ผลงานด้านศิลปะ

     6.3.3   สารานุกรม

     6.3.4   งานแปล

 

6.4 ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด                         
              ไม่มี

7. ประสบการณ์สอน

7.1 ระดับปริญญาตรี 6 ปี

ชื่อวิชา

เคมีพื้นฐาน

3 (2-2-5) นก.

ชื่อวิชา

เคมีพื้นฐาน 1

3 (2-2-5) นก.

ชื่อวิชา

เคมีพื้นฐาน 2

3 (2-2-5) นก.

ชื่อวิชา

เคมีทั่วไป 1

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1                                          

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

เคมีทั่วไป 2

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2                                          

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

หลักเคมีอินทรีย์                                                  

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการหลักเคมีอินทรีย์                                     

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

สเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์                             

2 (2-0-4) นก.

ชื่อวิชา

สารเคมีและความปลอดภัย                                     

2 (2-0-4) นก.

ชื่อวิชา

เคมีอินทรีย์และการวิเคราะห์สำหรับชีววิทยาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

2 (1-2-3) นก.

ชื่อวิชา

เคมีวิเคราะห์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม                      

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

ความปลอดภัยทางเคมี                                          

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                                      

5 (450) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร 

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีทั่วไปสำหรับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการอาหาร

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ                              

2 (180) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม       

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

เคมีอินทรีย์ 2                                                      

3 (3-0-6) นก.

ชื่อวิชา

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2                                        

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

3 (2-2-5) นก.

ชื่อวิชา

การวิเคราะห์อาหารฮาลาล                                     

3 (2-2-5) นก.

ชื่อวิชา

การสกัดสารธรรมชาติและแปรรูปสมุนไพรท้องถิ่นเชิงการค้า

6 (3-6-9) นก.

ชื่อวิชา

การผลิตเชื้อเพลิงเคมีชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้

6 (3-6-9) นก.

ชื่อวิชา

สัมมนาทางเคมีเทคโนโลยีและนวัตกรรม

1 (0-3-0) นก.

ชื่อวิชา

วิจัยทางเคมีเทคโนโลยีและนวัตกรรม 1

1 (0-2-1) นก.

ชื่อวิชา

โครงงานเคมี

2 (1-2-3) นก.

ชื่อวิชา

ชื่อวิชา

นวัตกรรมเป่าแก้ว

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจศึกษาทางเคมี                                                

2 (1-2-3) นก.

2 (180) นก.

ชื่อวิชา

สหกิจศึกษา                                                         

6 (600) นก.

 

7.2  ระดับปริญญาโท - ปี

                     ไม่มี

แกลเลอรี่