หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (ค.บ.)
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ผศ.ดร.ศิริชัย นามบุรี

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา

             ชื่อ – สกุล   ดร.ศิริชัย นามบุรี               

ตำแหน่งทางวิชาการ   อาจารย์   

 สังกัด   คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

เว็บไซต์  http://sirichai.yru.ac.th/

1. ประวัติการศึกษา

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาเอก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ปร.ด.

คอมพิวเตอร์ศึกษา

2553

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ค.อ.ม.

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2543

ปริญญาตรี

วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์

วท.บ.

วิทยาการคอมพิวเตอร์

2537

ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศษ.บ.

บริหารธุรกิจ

2530

 

 

2. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
   (ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)

 

   2.1   ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)

          2.1.1  ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง

          2.1.2  ตำรา หนังสือ

          2.1.3  บทความทางวิชาการ

                   2.1.3.1  ในวารสารทางวิชาการ

                   2.1.3.2  ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

                   2.1.3.3  ใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                              ประเมินและตรวจสอบ

 

   2.2   ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

          2.2.1  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

                   ไกรทพนธ์ เติมวิทย์ขจร, นิมารูนี หะยีวาเงาะ, ศิริชัย นามบุรี. (2561). การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการจัดการรายละเอียดรายวิชา (มคอ.3). วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 29(2) : 62-75.

          2.2.2  บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
                  
(ไม่มี)

          2.2.3  บทความวิจัยใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                   ประเมินและตรวจสอบ

Muneeroh Phadung, Sirichai Namburi, Praewsree Dermrach and Ismaae Latekeh. (2018, May). Effects of Enhancing Computational Thinking Skills using Educational Robotics Activities for Secondary Students. 
In
the International Conference on Research, Implementation
and Education of Mathematics and Science (5th ICRIEMS).

(pp. ME-613 – Me-617). Yogyakarta, Indonesia : Yogyakarta State University.

อิมรอน แวมง, มูนีเร๊าะ ผดุง, พรรณี แพงทิพย์, ศิริชัย นามบุรี และปรีชา พังสุบรรณ. (2559). การศึกษาแนวโน้มความต้องการหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 วันที่ 19 -20 ธันวาคม 2559  (หน้า 1655-1664). นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี.

 

   2.3   ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

          2.3.1  สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์

          2.3.2  ผลงานด้านศิลปะ

          2.3.3  สารานุกรม

          2.3.4  งานแปล

 

   2.4   ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

 

3.  ประสบการณ์สอน

    3.1  ระดับปริญญาตรี 18 ปี  

ชื่อวิชา การจัดการสารสนเทศด้านการศึกษา                            3 (2-2-5) นก.

                   ชื่อวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูง                     3 (2-2-5) นก.

                   ชื่อวิชา การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์                                  3 (2-2-5) นก.

                   ชื่อวิชา การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอน              3 (2-2-5) นก.

                   ชื่อวิชา เว็บช่วยสอน                                                       3 (2-2-5) นก.

 

    3.2  ระดับปริญญาตรี 3 ปี  

                   ชื่อวิชา ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับบัณฑิตศึกษา                        2 (2-0-5) นก.

                   ชื่อวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับบัณฑิต              3 (2-2-5) นก.