หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
Food Science and Technology

ผศ.จริยา สุขจันทรา

งานวิจัย

  1. การผลิตปลายอจากซูริมิเสริมสมุนไพร แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2545)
  2. ตำรับอาหารท้องถิ่นภาคใต้  “ไก่ฆอและ”  ระยะสืบค้น แหล่งทุนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2547)
  3. การผลิตบูดูข้าวยำ: เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (2548)
  4. การยกระดับการผลิตบูดูใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้แบบมีส่วนร่วม แหล่งทุน สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2549)
  5. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาทูแขกบรรจุกระป๋องเพื่อการแข่งขันตลาดภายในประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (โครงการรัฐร่วมเอกชน 2553)
  6. แผนงานวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านชายแดนใต้สูธุรกิจแฟรนไชส์ : หัวข้าวเกรียบ (ปาลอ-กรือโป๊ะ) แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2554)
  7. สถานการณ์ความปลอดภัยอาหารในผลิตภัณฑ์ปลาเค็ม : กรณีศึกษาจังหวัดยะลา แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2554)
  8. การจัดการคุณภาพและความปลอดภัยผลิตภัณฑ์หัวข้าวเกรียบสำหรับธุรกิจแฟรนไชส์ แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2554)
  9. การพัฒนากระบวนการผลิตและยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารพื้นบ้านเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม : ปลาทูแขกแดดเดียว แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2555)
  10. การพัฒนาอาหารท้องถิ่นเพื่อการสร้างธุรกิจ แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2556)
  11. การพัฒนาชุดอาหารฮาลาลเพื่อสุขภาพสำหรับผู้ประกอบพิธีฮัจญ์และนักท่องเที่ยวที่นับถือศาสนาอิสลาม แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2555-2557)
  12. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบนราธิวาส แหล่งทุน คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร (2557)
  13. การผลิตและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของเครื่องปรุงขมิ้นทอดปลา  แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2558)
  14. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม : หัวข้าวเกรียบแช่เยือกแข็ง แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (HERP 2558)

บทความ 

  1. จริยา  สุขจันทรา. (2549). ภูมิปัญญาการผลิต “ไก่ฆอและ” ของชุมชนทุ่งพลา. ว. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา . 1(1) หน้า 56 – 64.
  2. จริยา  สุขจันทรา. (2549). การผลิตปลายอจากซูริมิเสริมสมุนไพร. ว. อาหาร  36(2). หน้า   140-144.
  3. นันทรัตน์  นามบุรี และ จริยา  สุขจันทรา. (2549). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วยหินและปัจจัยที่ส่งเสริมการจำหน่าย. ว. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 1(1) หน้า 30-37. 
  4. จริยา สุขจันทราและกามีละห์  หามะ. (2551). ผลของน้ำมันที่ใช้ทอดต่อคุณภาพของ กล้วยหินฉาบ. ว. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 3(1). หน้า 11-18.
  5. Jariya Sukjuntra, Suleenee Dolohmah and Nurheelah Salach,  Development processing of dried boiled Anchovies in Pattani province.
  6. จริยา  สุขจันทรา. กูรอซียะห์ ยามิรูเด็ง. วิภาดา  มุนินทร์นพมาศ, วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ (2552). สถานการณ์การผลิตบูดูในจังหวัดปัตตานี. ว. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 4(1). หน้า 11-21.
  7. Jariya Sukjuntra, Kuenchan Na Nakorn and Zubaidah Hajiwangoh. (2012). Stroage life of mackerel (Decapterus maruadsi) in ice. The International Congress on Food Engineering and Technology. Bangkok Thailand. March 28-30 : 240-243.
  8. Kuenchan Na Nakorn, Jariya Sukjuntra and Zubaidah Hajiwangoh. (2012). Studying shelf-life of Kepala Keropok at chilling temperature. The  International Congress on Food Engineering and Technology. Bangkok Thailand. March 28-30 : 237-239.
  9. Zubaidah Hajiwangoh, Jariya Sukjuntra and Kuenchan Na Nakorn. (2012). Microbiological Quality of Kepala Keropokas as stored in ice. The International Congress on Food Engineering and Technology. Bangkok Thailand. March 28-30 : 244-2147.
  10. จริยา  สุขจันทรา. (2557). สถานการณ์ความปลอดภัยและพฤติกรรมการบริโภคปลาเค็มในจังหวัดยะลา. ว. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 9(1). หน้า 85-98.
  11. จริยา  สุขจันทรา. (2559). การพัฒนาอาหารท้องถิ่นจากแป้งสาคู: หัวข้าวเกรียบแช่แข็ง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 21(2): 17-30.

หนังสือ /เอกสารทางวิชาการ

  1.  จริยา  สุขจันทรา. (2549) การประกันคุณภาพอาหาร. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  2. จริยา  สุขจันทรา (2552) การควบคุมคุณภาพอาหาร. (เอกสารประกอบการสอน)
  3. จริยา สุขจันทรา (2556) อาหารท้องถิ่น. (เอกสารประกอบการสอน)                  
  4. จริยา สุขจันทรา (2557) เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง. (เอกสารประกอบการสอน)