หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

งานวิจัยอาจารย์

อ.ดร.ปัทมา พิศภักดิ์

  • บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

ปัทมา พิศภักดิ์. (2565). การประเมินการได้รับปริมาณก๊าซเรดอนภายในอาคารที่มีผลต่อการเกิดโรคมะเร็งปอด ในบริเวณพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 7(2): 1-10.

โรซวรรณา เซพโฆลาม, ปัทมา พิศภักดิ์,  รูฮัยซา ดือราแม,  อาบีดีน ดะแซสาเมาะ, ศศิธร พังสุบรรณ, อลภา ทองไชยุ, ดาริกา จาเอาะ, ปาวีณา ดุลยเสรี, และ ฮานีดา เมาะมิง.(2564).ผลของการพัฒนาศักยภาพครูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่พร้อมต่อการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามกรอบการประเมินของ PISA กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารอัล-ฮิกฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. 11(21): 57-71.

Pradabphetrat. P., Abdul-alim. A., Thingphom. A., Bungosayu. N., Pisapak. P., and Sukkaew. A. (2023). Effect of Compost from Organic Waste and Fly Ash of Biomass Power Plants together with Organic Waste Materials on Growth of Sunflower Sprouts. Journal of Physics and General Science. 7(1): 1-9.

Madahae. S., Pisapak. P., and Thanyasirikul. C. (2021). Learning Design of STEM Education Through Workshop Training for Thai Teachers. Journal of Physics: Conference Series. 1835: 1-11.

Pisapak. P. (2021). Assessment of radon and heavy metals in drinking water from some areas of Ra-ngae District, Narathiwat Province, Thailand. Journal of Physics: Conference Series. 1835: 1-9.

Pisapak. P., Seena D., and Samaeng. A. (2020). Physical Condition Evaluation in a lime Farm: A Case Study in Some Areas of Yala and Pattani Provinces. Journal of Physics and General Science. 4(1): 50-56.

Raksawong, S., Sola, P., Samran R., and Pisapak P. (2021). Measurement of 222Rn   Exhalation Rate from Natural Rubber Latex Pillows Randomed from Online Market in Thailand. ASEAN Journal of Scientific and Technological Reports. 24(1): 23-31.

  • บทความวิจัยใน Proceedings 

โนรฮาสวานี ต่วนดาโอ๊ะ, ฟาตีฮะห์ มะเซ็งบางี, ลดาวัลย์ คงศรีจันทร์ และปัทมา พิศภักดิ์. การเตรียมถ่านกัมมันต์จากเปลือกกระท้อนโดยการก่อกัมมันต์ทางเคมีแบบแห้ง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 8 และ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566 (หน้า 854-860). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์, นัสรียะห์ เจ๊ะฮะ, อัสมา ซีตือโม, ปัทมา พิศภักดิ์ และ อดุลย์สมาน สุขแก้ว. (2566). การผลิตผงสีย้อมผ้าจากวัสดุธรรมชาติ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 8 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566 (หน้า 342-349). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาริสวาณี แยนา, ซอบารียะห์ สะแลแม, ปัทมา พิศภักดิ์, ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์ และ อดุลย์สมาน สุขแก้ว. (2566). กระถางเพาะชำที่ย่อยสลายได้จากเถ้าลอยขุยมะพร้าวและกาบกล้วย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 8 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566 (หน้า 294-305). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

รวยดา ยาลอ, นูรีนา  แยนา และปัทมา  พิศภักดิ์. (2563). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำสวนสละอินโด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 5 วันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2563 (หน้า 1642-1650). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.

อิลฮาม เจะอาเเว, ปัทมา  พิศภักดิ์ และโซฟีลาน  มะดาแฮ. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน​ วิชาโลก​ ดาราศาสตร์​ และอวกาศ​ และความ​พึงพอใจต่อการ​จัดการเรียนรู้​แบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ​(5Es) ร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้​แบบเชิงรุก​ สำห​รับ​นักเรียน​ชั้น​มัธยมศึกษา​ปีที่​ 4​โรงเรียน​สตรี​ยะลา. ใน การประชุมวิชาการนําเสนอผลงานวิจัย “นวัตกรรมวิชาชีพครู” เครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่าง ครั้งที่ 3 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563 (หน้า 582-594). สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.

นาตาซา อับดุลเลาะ นูรกัรตีนี สะบูดิง และ ปัทมา พิศภักดิ์. 2562. การประเมินค่ากัมมันตภาพรังสี   ธรรมชาติในตัวอย่างดินบริเวณ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา. ใน โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4. “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อบูรณาการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2562 (หน้า 348-358). จังหวัดนครศรีธรรมราช.

ปัทมา พิศภักดิ์ อีมาน ยามา อิสกานดา เจะแม อับดุลฮากิม สิเดะ และไซนับ ดอเลาะ. 2561. การประเมินความเสี่ยงต่อเรดอนภายในและภายนอกอาคารในพื้นที่ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จ.ยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” วันที่ 21-22 มิถุนายน 2561 (หน้า 224-230). จังหวัดนครศรีธรรมราช.

ผศ.ดร.โรซวรรณา เซพโฆลาม

  • บทความวิจัย

ซูไฮลา เกาะแน โรซวรรณา เซพโฆลาม และลุตฟียะห์ แซะเซ็ง. (2566). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พลังงานบนโลกของเรา ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการสังเกตและทักษะการจำแนกประเภทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภายใต้สถานการณ์โควิด-19. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 17(1): 14-25.

โรซวรรณา เซพโฆลาม และขวัญฤทัย เที่ยงจันทราทิพย์. (2564). ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 16(2): 276-286.       

โรซวรรณา เซพโฆลาม, ปัทมา พิศภักดิ์.  รูฮัยซา ดือราแม,  อาบีดีน ดะแซสาเมาะ, ศศิธร พังสุบรรณ, อลภา ทองไชยุ, ดาริกา จาเอาะ, ปาวีณา ดุลยเสรี, และ ฮานีดา เมาะมิง.(2564).ผลของการพัฒนาศักยภาพครูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่พร้อมต่อการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามกรอบการประเมินของ PISA กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารอัล-ฮิกฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. 11(21): 57-71.

โรซวรรณา เซพโฆลาม รูฮัยซา ดือราแม และโซฟีลาน มะดาแฮ. (2564). สมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษาครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น. วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 7(2): 275-293.

Safkolam, R., Madahae, S. and Salae, P. (2024). The effects of inquiry-based learning activities to understand the nature of science of science student teachers. International Journal of Instruction. 17(1):  479-496.

Safkolam, R., Ahmad Zaky El Islami, R., and Sari, I. J. (2023). The Effects of Jigsaw Technique on Learning Achievement and Retention of Science Teacher Students. Shanlax International Journal of Education. 11(3): 37–42.

Safkolam, R. Nuangchalerm, P. Ahmad Zaky El Islami and Saleah, P. (2023).Students’ Understanding of Nature of Science in Islamic private school, Jurnal Pendidikan Islam. 9(1): 1-14.

Sari, I. J. Ahmad Zaky El Islami, R., and Safkolam, R. (2022). Implementation of Bioinformatics Learning in Senior High School: A Systematic  Review. International Journal of Biology Education Towards  
Sustainable Development. 
2(2): 87-98.                

Dearamae, R., Safkolam, R. and Yacob, M. (2021). An Investigation of Pre-Service Teaching Active Learning to be STEM Education. Journal of Physics : Conference series.1835: 1-6.

Safkolam, R, Khumwong, P, Pruekpramool C. and Hajisamoh, A. (2021). Effects of Islamic scientist history on seventh graders’ understandings of nature of science in a Thai Islamic private school, Jurnal Pendidikan IPA Indonesia.10(2): 282-290.  

  • Proceeding

คอลีเยาะ สะอิ และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ภาคใต้ ครั้งที่ 8 (NSCIC 2023). (หน้า 498-506). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

นูรอีมาน มะดิง และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2566). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิค TGT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 8 (NSCIC 2023). (หน้า 507-514). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

รอฮานี โตะ และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและภายใต้สถานการณ์โควิด-19 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องตัวกลางของแสง ด้วยรูปแบบ On-hand. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงาน “นวัตกรรมวิชาชีพครู”ระดับชาติครั้งที่ 5 ระดับนานาชาติครั้งที่ 1. (หน้า 726-740). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สารีซา วาเต๊ะและโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ตัวกลางของแสง เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและทักษะการสังเกตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านบูเกะคละ (บุญชอบ สาครินทร์) ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 7 (NSCIC 2022). (หน้า 1141-1152). สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สารีน่า ใบโสะดำ และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแนวคิด สะเต็มศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 7 (NSCIC 2022). (หน้า 1043-1054). สุราษฎร์ธานี:  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

อับดุลเล๊าะ ดีแม และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทน ในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า). การประชุมวิชาการ “ฟิสิกส์ – วิทยาศาสตร์ทั่วไปสัมพันธ์ ครั้งที่ 18 ประจำปี 2565.  สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

อับดุลเล๊าะ ดีแม, อับดุลเลาะ ตาแกะ, โรซวรรณา เซพโฆลาม และนินนาท์ จันทร์สูรย์. (2563). การศึกษาประสิทธิภาพของถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าวผสมถ่านไม้ยางพารา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 88-94). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

นัสริน สุหรรษา และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 664-670). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ฟาติน แลแร และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรียะลา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 671-678). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

นูรีนา แยนา และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.  การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 464-471). สงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

กฤตพร ทองสุข โรซวรรณา เซพโฆลาม และ ปัทมา พิศภักดิ์. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 1893-1900). สงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อาซีฟะ สาแม็ง โรซวรรณา เซพโฆลาม และ พูรกอนี สาและ. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 1901-1908). สงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อ.ปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย

  • บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

ปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย, อลภา ทองไชย และวารุณี หะยีมะสาและ. (2566). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนในการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาโดยผ่านกระบวนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพใน รายวิชาเคมีสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคใต้ของประเทศไทยในช่วงที่มีการระบาดของโคโรนาไวรัส. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 51(1): 1-12.             

ฮารีส มามะ, โซฟีลาน มะดาแฮ, ปิยศิริ สุนทร นนท์ สินไชย. (2565). ผลการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ตามแนวสะตีมศึกษา (STEAM Education) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องธรณีพิบัติภัยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตรียะลา. วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ 11: 101-118.

Muhamad, N., Sinchai, P. S., and Tansom, U. (2023). Banana peel as bioremediation agent in textile dyes decolorization for wastewater management. Biochemical Systematics and Ecology. 106(104582): 1-6.

ปิยศิริ  สุนทรนนท์. (2554). การวิเคราะห์หาชนิดของสารตัวอนุมูลอิสระจากผลพิลังกาสา.ยะลา: คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ปิยศิริ  สุนทรนนท์ และสมภพ  เภาทอง. (2553). การวิเคราะห์ชนิดของสารตัวอนุมูลอิสระจากดอกดาหลา.ยะลา: สถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนใต้  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

  • บทความวิจัยใน Proceedings

ปวีณ์นุช ทองรมย์, สุนิสา บุญเลิศ และปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย. (2564). การศึกษาคุณสมบัติของเพคตินจากผลส้มแขก.ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 วันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า 1126-1133). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

สีตีรอกีเยาะ สาแมง, อัซลีนา เละสัน และปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย. (2564). การหาปริมาณและการต้านอนุมูลอิสระของแทนนินในสารสกัดหยาบใบพุทรา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 วันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า 1134-1140). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

เสรี ลัสมาน, มูรัติ อาลี และปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย. (2564). การหาปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดหยาบในผลมะไฟลิง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 6 วันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า 1118-1125).สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

อามีเนาะ เจ๊ะเง๊าะ, ซูในย๊ะ เล๊าะเหม, ปิยศิริ สุนทรนนท์ สินไชย และนิสาพร มูหะมัด. (2564). คุณสมบัติของสบู่ที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากมะยม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 วันที่ 1-2 เมษายน 2564 (หน้า 901-909).สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ปิยศิริ  สุนทรนนท์. ปริมาณรวมของสารประกอบฟีนอลิคในพืชผักพื้นบ้าน.การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 3”, ปีที่ 3  ฉบับที่ 1 ปี 2558.   หน้า 218-22

อ.ลุตฟียะห์ แซะเซ็ง

  • บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ 

ซูไฮลา เกาะแน, โรซวรรณา เซพโฆลาม และ ลุตฟียะห์ แซะเซ็ง. (2566). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พลังงานบนโลกของเรา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการสังเกตและทักษะจำแนกประเภทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภายใต้สถานการณ์โควิด-19. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 17(1) : 14-25.

  • บทความวิจัยใน Proceedings 

Seaseng, L, Jariyaboon, R., Tasara and Kongjan, P2018Biochemical Methan Potential (BMP) From Latex Lutoid And Concentrated Latex Wastewater (CLW) BY Integrated Pyrolysis And Anaerobic Digestionnaerobic Digestion Tachnology: Sustainable Alternative Bioenergy for a Stable Life 4 - 7 June 2018. pp.112-119Chiang Mai: Thailand

อ.พูรกอนนี มูซอ

  • บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ 

Safkolam, R., Madahae, S. and Saleah, P. (2024). The effects of inquiry-based learning activities to understand the nature of science of science  student teachers. International Journal of Instruction. 17(1): 479-496.

Safkolam, R. Nuangchalerm, P., El Islami, R. A. Z. and Saleah, P. (2023). Students’ Understanding of Nature of Science in Islamic private school, Jurnal Pendidikan Islam. 9(1): 1-14.

ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ  พูรกอนนี  สาและ   อับดุลลาห์  โดลาห์  ดาลี  คอสียาห์ สะลี  และนุรอัยนี หะยียูโซะ. (2561). การปนเปื้อนของแบคทีเรียและราบางชนิดในอากาศในรถยนต์ส่วนบุคคล. ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(2) : 238-244.

  • บทความวิจัยใน Proceedings 

ซาสวานี อิแต,  ฟาดีละห์ เต๊ะมาลอ และพูรกอนนี มูซอ. (2566). ฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphylococcus  aureus ของผลิตภัณฑ์เจลจากสารสกัดหยาบใบสาบเสือ. ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 8 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่าย สถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566 (หน้า 377-382). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาซีฟะ สาแม็ง, โรซวรรณา เซพโฆลาม และพูรกอนี สาและ. (2564). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 วันที่ 20-21 พฤษภาคม 2564. (หน้า 1901-1908). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สุไรญา หมะดอหะ นุรมา มามุ  และ พูรกอนนี สาและ. (2563). การแพร่กระจายของแบคทีเรียทั้งหมด และ Staphylococcus aureus ในซูชิ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 5 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 6-7 กุมภาพันธ์ 2563. หน้า 1874-1882

คอสียาห์ สะลี, อับดุลาห์โดลาห์ ดาลี, นุรอัยนีหะยียูโซะ, ซูไบด๊ะ หะยีวาเงาะ พูรกอนนี สาและ และหัสลินดา  บินมะแอ. (2562). ประสิทธิภาพของสารสกัดพืชสมุนไพรพื้นบ้านและผลิตภัณฑ์ในการยับยั้งเชื้อ Bacillus sp., Escherichia coli, Salmonella sp. และ Staphylococcus aureus.  ใน การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ระดับชาติ 2562 “งานวิจัย และงานสร้างสรรค์รับใช้สังคม” วันที่ 12 กันยายน 2562 (310-319) สมุทรปราการ.  มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

พูรกอนนี สาและ, อัสมาวาตี มุสตาแม และ กามีนี ซาราเซะ. (2562). ฤทธิ์ต้านจุลชีพจากสารสกัดหยาบใบพลูต่อเชื้อ Streptococcus salivarius. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อบูรณาการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2562 (หน้า 988-993). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

พูรกอนนี  สาและ, อิสมีย์ ปูตะ, ซามีลา ดูมีแด, ซูไบด๊ะ  หะยีวาเงาะ, คอสียาห์ สะลี, นุรอัยนี หะยี ยูโซะ. และ อับดุลลาห์ โดลาห์ ดำลี. (2560). การปนเปื้อนของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในอาหารทะเลสดที่วางจำหน่ายในเขตเทศบาลนครยะลาและอำเภอเมืองปัตตานี.  ใน การประชุมวิชาการ: การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วันที่ 12-13 กุมภาพันธ์ 2560 (หน้า 3-8). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

พูรกอนนี  สาและ และ อัลวานี ดามุง. (2561). การปนเปื้อนของเชื้อราบนเสื้อผ้ามือสองที่จำหน่ายในตลาดนัดในจังหวัดยะลา และปัตตานี. ใน ประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2561 วันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ 2561 (หน้า 707-713). ยะลา: คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.   

คอสียาห์ สะลี, อับดุลลาห์ โดลาห์ ดาลี, นุรอัยนี หะยียูโซะ, พูรกอนนี สาและ  และสุไหมยะห์ เจ๊ะเต๊ะ. (2558). การควบคุมโดยชีววิธีเชื้อรา phytophthora sp. สำเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนโดยใช้เชื้อ Bacillus sp. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียนประจำปี 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 (108-114). นราธิวาส: มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.

ไฟล์แนบ

ดาวน์โหลด