หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โรซวรรณา เซพโฆลาม

1. อาจารย์ประจำหลักสูตร     หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป

2.ชื่อ–สกุล                          นางสาวโรซวรรณา  เซพโฆลาม

3.ตำแหน่งทางราชการ         ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.สังกัด                              คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการเกษตร

5.ประวัติการศึกษา                

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาเอก

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

กศ.ด.

วิทยาศาสตร์ศึกษา

2562

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ศษ.ม.

วิทยาศาสตร์ศึกษา

2551

ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยทักษิณ

กศ.บ.

เคมี

2547

6.  ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง (ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)

    6.1  ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)

           6.1.1   ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง

           6.1.2   ตำรา หนังสือ

           6.1.3   บทความทางวิชาการ

                    6.1.3.1 ในวารสารทางวิชาการ

                    6.1.3.2 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

                    6.1.3.3 ใน Proceeding ของการประชุมวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและ ตรวจสอบ

6.2  ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

       6.2.1   บทความวิจัยในวารสารวิชาการ

ซูไฮลา เกาะแน โรซวรรณา เซพโฆลาม และลุตฟียะห์ แซะเซ็ง. (2566). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พลังงานบนโลกของเรา ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการสังเกตและทักษะการจำแนกประเภทของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ภายใต้สถานการณ์โควิด-19. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 17(1): 14-25.

โรซวรรณา เซพโฆลาม และขวัญฤทัย เที่ยงจันทราทิพย์. (2564). ความเข้าใจธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 16(2): 276-286.       

โรซวรรณา เซพโฆลาม, ปัทมา พิศภักดิ์.  รูฮัยซา ดือราแม,  อาบีดีน ดะแซสาเมาะ, ศศิธร พังสุบรรณ, อลภา ทองไชยุ, ดาริกา จาเอาะ, ปาวีณา ดุลยเสรี, และ ฮานีดา เมาะมิง.(2564).ผลของการพัฒนาศักยภาพครูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่พร้อมต่อการ
จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามกรอบการประเมินของ PISA กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารอัล-ฮิกฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี. 11(21): 57-71.

โรซวรรณา เซพโฆลาม รูฮัยซา ดือราแม และโซฟีลาน มะดาแฮ. (2564). สมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษาครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่น. วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 7(2): 275-293.

Safkolam, R., Madahae, S. and Salae, P. (2024). The effects of inquiry-based  learning activities to understand the nature of science of science student  teachers. International Journal of Instruction. 17(1):  479-496.

Safkolam, R., Ahmad Zaky El Islami, R., and Sari, I. J. (2023). The Effects of Jigsaw Technique on Learning Achievement and Retention of Science Teacher Students. Shanlax International Journal of Education. 11(3): 37–42.

Safkolam, R. Nuangchalerm, P. Ahmad Zaky El Islami and Saleah, P. (2023). Students’ Understanding of Nature of Science in Islamic private school, Jurnal Pendidikan Islam. 9(1): 1-14.

Sari, I. J. Ahmad Zaky El Islami, R., and Safkolam, R. (2022). Implementation of Bioinformatics Learning in Senior High School: A Systematic Review. International Journal of Biology Education Towards Sustainable Development. 2(2): 87-98.                Dearamae, R., Safkolam, R. and Yacob, M. (2021). An Investigation of Pre-Service Teaching Active Learning to be STEM Education. Journal of Physics : Conference series.1835: 1-6.

Safkolam, R, Khumwong, P, Pruekpramool C. and Hajisamoh, A. (2021).  Effects of Islamic scientist history on seventh gradersunderstandings of nature of science in a Thai Islamic private school, Jurnal Pendidikan IPA Indonesia.10(2): 282-290.  

          6.2.2   บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
                   (ไม่มี)

          6.2.3   บทความวิจัยใน proceeding ของการประชุมวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมิน
                    และตรวจสอบ

คอลีเยาะ สะอิ และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่าย ภาคใต้ ครั้งที่ 8 (NSCIC 2023). (หน้า 498-506). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

นูรอีมาน มะดิง และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2566). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิค TGT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 8 (NSCIC 2023). (หน้า 507-514). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

รอฮานี โตะ และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและภายใต้สถานการณ์โควิด-19 โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ตัวกลางของแสง ด้วยรูปแบบ On-hand. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงาน “นวัตกรรมวิชาชีพครู”ระดับชาติครั้งที่ 5 ระดับนานาชาติครั้งที่ 1. (หน้า 726-740). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สารีซา วาเต๊ะและโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ตัวกลางของแสง เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและทักษะการสังเกตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านบูเกะคละ (บุญชอบ สาครินทร์) ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 7 (NSCIC 2022). (หน้า 1141-1152). สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สารีน่า ใบโสะดำ และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับแนวคิด สะเต็มศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 7 (NSCIC 2022). (หน้า 1043-1054). สุราษฎร์ธานี:  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

อับดุลเล๊าะ ดีแม และ โรซวรรณา เซพโฆลาม. (2565). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทน ในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า). การประชุมวิชาการ “ฟิสิกส์ – วิทยาศาสตร์ทั่วไปสัมพันธ์ ครั้งที่ 18 ประจำปี 2565.  สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

กฤตพร ทองสุข โรซวรรณา เซพโฆลาม และ ปัทมา พิศภักดิ์. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 1893-1900). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

นูรีนา แยนา และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 464-471). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

นัสริน สุหรรษา และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 664-670). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ฟาติน แลแร และโรซวรรณา เซพโฆลาม. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรียะลา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 671-678). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

อาซีฟะ สาแม็ง โรซวรรณา เซพโฆลาม และพูรกอนี สาและ. (2563). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2564. (หน้า 1901-1908). สงขลา:  มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อับดุลเล๊าะ ดีแม, อับดุลเลาะ ตาแกะ, โรซวรรณา เซพโฆลาม และนินนาท์ จันทร์สูรย์. (2563). การศึกษาประสิทธิภาพของถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าวผสมถ่านไม้ยางพารา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6. (หน้า 88-94). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

6.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผลแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

          6.3.1 สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์

          6.3.2 ผลงานด้านศิลปะ

          6.3.3 สารานุกรม

          6.3.4 งานแปล

6.4 ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผลแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

7.  ประสบการณ์ทางสอน

    7.1  ระดับปริญญาตรี  2 ปี

          ชื่อวิชา  วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ 2                                              3(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  สะเต็มศึกษาสําหรับเด็กประถมศึกษา                                  3(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  สะเต็มศึกษา                                                                2(1-2-3) นก.

          ชื่อวิชา  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา                     2(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  ทักษะการสอนสําหรับครูวิทยาศาสตร์                                 3(2-2-5) นก.

ชื่อวิชา  วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ 1                                              3(3-2-5) นก.

ชื่อวิชา  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา                    3(2-2-5) นก.

ชื่อวิชา  ธรรมชาติและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์                           2(1-2-3) นก.

          ชื่อวิชา  อุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น                                                     3(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับครูประถมศึกษา                3(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  ดาราศาสตร์และอวกาศ                                                   3(2-2-5) นก.

          ชื่อวิชา  ภาษาอังกฤษสำหรับครูวิทยาศาสตร์                                   3(3-0-6) นก.

          ชื่อวิชา  การวิจัยทางวิทยาศาสตร์                                                 3(2-2-5) นก.

 

 

แกลเลอรี่