
ประธานหลักสูตร
ลิงค์คณะ
ผลงานดีเด่น
อาจารย์ประจำหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
ชื่อ – สกุล ดร.ลิลลา อดุลยศาสน์
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
สังกัด คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
1. ประวัติการศึกษา
ระดับการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
คุณวุฒิ |
สาขาวิชา |
พ.ศ. |
ปริญญาเอก |
Universiti Sains Malaysia |
Ph.D. |
Mathematics Education |
2559 |
ปริญญาโท |
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
กศ.ม. |
คณิตศาสตร์ |
2549 |
ปริญญาตรี |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ค.บ. |
คณิตศาสตร์ |
2545 |
2. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
(ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)
2.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)
2.1.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง
2.1.2 ตำรา หนังสือ
2.1.3 บทความทางวิชาการ
2.1.3.1 ในวารสารทางวิชาการ
2.1.3.2 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
2.1.3.3 ใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
2.2 ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด
2.2.1 บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ
Adulyasas, L. (2018, October). Fostering Pre-Service Mathematics Teachers’ Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) through the Learning Community. Journal of Physics: Conference Series. 1(097) : 1-9.
Adulyasas, L. (2018, January-April). The Effects of Developing Mathematics Pre-service Teachers’ Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) on Mathematics Students’ Achievement. Journal of Yala Rajabhat University. 13(1) : 115-128.
2.2.2 บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
(ไม่มี)
2.2.3 บทความวิจัยใน proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
ลิลลา อดุลยศาสน์ และ กุลธิดา วาหะ. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องการแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการบูรณาการเทคโนโลยีในชั้นเรียน ตามแนวคิดของ TPACK และ SAMR Model. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 13-23). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ลิลลา อดุลยศาสน์ และ อามีเนาะ มะมิง. (2562). การใช้แนวคิดของ TPACK และ SAMR Model เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน และจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 24-34). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ฟิรดาว เลาะ สุภา ยธิกุล และ ลิลลา อดุลยศาสน์. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวก และการลบเศษส่วน โดยใช้สื่อแท่งทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรียะลา จังหวัดยะลา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 3 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (หน้า 368-375). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
อารีตา ฮูลูเจะหะ สารีปะห์ แมเราะดำ และลิลลา อดุลยศาสน์. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการบวกและการลบพหุนาม โดยใช้วิธีสอนแบบแอคทีฟเลิร์นนิ่ง (Active learning) ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อ.เมือง จ.ยะลา. ใน รายงานการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (หน้า 20-30). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
ลิลลา อดุลยศาสน์ และ สุภา ยธิกุล. (2560). การพัฒนาความรู้ในการบูรณาการเทคโนโลยีกับวิธีสอนและเนื้อหาที่สอน (TPACK) ของนักศึกษาครูสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 “สร้างสรรค์งานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่นคั่ง ยั่งยืน ในยุค Thailand 4.0”วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2560 (หน้า 1549-1561). ยะลา : มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
ลิลลา อดุลยศาสน์ และ ภัทรพิชา แก้วสีขาว. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความวิตกกังวลในการสอนวิชาคณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของครูคณิตศาสตร์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2559 (หน้า 776-786). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
อิสรามีน เวาะแม ไซนุง ระสิมะหะมิ สัลวา อาแวบือซา และ ลิลลา อดุลยศาสน์. (2559). การใช้กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมเจตคติที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในเขตพื้นที่ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 “คุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู” วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 (หน้า 43-50). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
Adulyasas, L&Abdulrahman,S2015Shifting Studentss Awareness of Geometrical Concepts through Lesson StudyIn The Proceeding of the 2nd International Conference on Research Implementation and Education of Mathematics and Science on 17th-19th May 2015 (pp. ME249-ME256). Yogyakarta, : Yogyakarta State University.
(2558). เทคนิคสอนเสริมวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกม เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียน. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 “การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน” วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 (หน้า 664-672). ยะลา : มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.
2.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)
2.3.1 สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์
2.3.2 ผลงานด้านศิลปะ
2.3.3 สารานุกรม
2.3.4 งานแปล
2.4 ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)
3. ประสบการณ์สอน
3.1 ระดับปริญญาตรี 10 ปี |
||
ชื่อวิชา แคลคูลัส 1 ชื่อวิชา คณิตวิเคราะห์ ชื่อวิชา ทฤษฎีเซต ชื่อวิชา พีชคณิตเชิงเส้น ชื่อวิชา พีชคณิตนามธรรม1 ชื่อวิชา สำรวจเรขาคณิต ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับครูคณิตศาสตร์ ชื่อวิชา การสอนคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา |
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) |
หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต |