ผศ.ดร.วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์

10 ตุลาคม 2559 (ผู้ดูแลระบบ) ข้อมูลอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

1.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชา   เกษตรศาสตร์

2.ชื่อ – สกุล  นางวิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์

3.ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.สังกัด คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

5.ประวัติการศึกษา 

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วท.บ.

วท.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร-การผลิตสัตว์)

2539

ปริญญาโท

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วท.ม.

วท.. (ครุศาสตร์เกษตร)

2542

ปริญญาเอก

University of the Philippines Los Baños

Ph.D.

Major: Agricultural Education

Minor: Development Management

2554

 

   6. ผลงานทางวิชาการ(เขียนตามรูปแบบการอ้างอิงและบรรณานุกรม)

      6.1 งานวิจัย

1) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2549. ธุรกิจสวนไม้ดอกไม้ประดับในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.1(1): 1-10.

2) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ, พรสวรรค์เพชรรัตน์,ฉันทนารุ่งพิทักษ์ไชย, ซารีนาซือแม,และฐิตินันท์สุวรรณพรรค. (2551). การใช้ผักพื้นบ้านในการทำข้าวยำบูดู. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 3(1): 19-29.

3)Wilaiwun Intarachaimas. (2012). Association among Learning Styles, Teaching Styles, Teachnology Integration, and Creativity of Agricultural Students’ Yala Rajabhat University in Thailand. 5th APEAEN International Conference 2012: National Agricultural Extension and Training Center, Kasetsart University, Kamphaeng Campus, Nakhon pathom, Thailand.

4) รอฮานี เจะแม วิไลวัลย์แก้วตาทิพย์และวิชิต เรืองแป้น. 2558. การใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรรอบพื้นที่เขาปกโย๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 21(4): 714-728.

5) ฟาฎีละห์ มะเระ วิไลวัลย์แก้วตาทิพย์ วิชิต เรืองแป้น. 2559. รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของคนในชุมชนบ้าน กม.26ใน จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 22(1): 96-103.

6) วิไลวัลย์แก้วตาทิพย์. 2559. ปัญหาการจัดการสวนยางพาราในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร. 33(2).

6.2บทความวิชาการ

1) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2554. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเพื่อผลผลิตที่ปลอดภัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.15(1): 91-95.

2) Wilaiwun Intarachaimas. 2012. Teaching Agricultural Student to be Creativity. Naresuan University Journal.20(1): 99-103.

3) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2556. สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาในสามจังหวัดชายแดนใต้. วารสารสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา.1(1): 1-5.

4) วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. 2556. เกษตรไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.17(1): 121-127.

6.3 หนังสือ /เอกสารทางวิชาการ

1) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2549. เอกสารประกอบการสอนวิชาไม้ดอกไม้ประดับ. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

2) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2554. เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักการไม้ผล. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

3) วิไลวัลย์ อินทรไชยมาศ. 2554. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเกษตรกับการพัฒนาชุมชน. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

4) วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. 2557. เอกสารคำสอนวิชาหลักพืชศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

5) วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. 2557. หลักพืชศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

6) วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. 2558.การส่งเสริมการเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

7) วิไลวัลย์ แก้วตาทิพย์. 2559.การจัดการฟาร์ม. ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

7.  ประสบการณ์ทางวิชาการ

     7.1  ประสบการณ์การสอน

            7.1.1  ระดับปริญญาตรี    17    ปี

วิชาไม้ดอกไม้ประดับ

3(2-2-5)     

วิชาหลักการไม้ผล

3(2-2-5)

วิชาเกษตรเพื่อพัฒนาชุมชน

3(2-2-5)

วิชาหลักพืชศาสตร์

3(2-2-5)

วิชาการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

3(2-2-5)

วิชาการจัดการฟาร์ม

3(3-0-6)  

วิชาสัมมนาทางการเกษตร

1(0-2-1)

            7.1.2  ระดับปริญญาโท2 ปี

                  

วิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน

3(2-2-5)

วิชาวิธีวิทยาการวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

3(2-2-5)

วิชาสัมมนาทางสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

3(2-2-5)

            7.1.3  ระดับปริญญาเอก1 ปี

วิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขั้นสูง

3(2-2-5)

วิชาสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน

3(2-2-5)

 

7.2 ประสบการณ์การเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์/กรรมการสอบวิทยานิพนธ์(ถ้ามี)

1) ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: รอฮานี เจะแม.2558. การใช้ประโยชน์ทรัยพยากรป่าไม้ของประชาชนที่อาศัยรอบพื้นที่เขาปกโย๊ะ อำเภอบันนังสตาจังหวัดยะลา. คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร.มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2) คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.