หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีประยุกต์

อาจารย์อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน

1. อาจารย์ประจำหลักสูตร   หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชา เคมี

2. ชื่อ–สกุล                นางอาอีเซาะส์   เบ็ญหาวัน

3. ตำแหน่งทางวิชาการ      อาจารย์

4. สังกัด                            คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

เบอร์โทรศัพท์ 089-2006250 เว็ปไซต์ https://profile.yru.ac.th/aeesoh.b

5. ประวัติการศึกษา

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วท.ม.

เคมีอินทรีย์

2552

ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  

วท.บ. เกียรตินิยมอันดับ 2

เคมี

2550

 6. ผลงานทางวิชาการ

    6.1 งานวิจัย

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2558). การเตรียมซิลิกาเจลจากเปลือกฝักข้าวโพดเพื่อประโยชน์ใน

         การเรียนการสอน. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2558). การสกัดแยกอะลูมิเนียมจากขยะพลาสติกห่อขนมขบเคี้ยว 

         เพื่อแปรรูปเป็นสารส้ม. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2556). ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดหยาบจากพืชสมุนไพร

         พื้นบ้านบางชนิด. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

    6.2 บทความตีพิมพ์และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

Aeesoh Benhawan, Sunee Waema, Subaidah Sama, and Nureeda Sedeh. (2015).

          Effect of extraction solvents and inhibit food pathogenic bacteria activities

          from Senna alata (L.) Roxb. The 3rd Songkla Lake Basin National

          Conference proceeding, 1, 1167-1175.

Aeesoh Benhawan and Wilawan Mahabusarakum. (2009). Chemical constituents

          from the bark of Artocarpus elasticus. Poster session present at Perch-

          CIC Congress VI, Phataya, Thailand.

Aeesoh Yanya and Wilawan Mahabusarakum. (2009). Prenylated flavones from

          the bark of Artocarpus elasticus. Poster session present at The 4th

          National Grade Research Conference, Chonburi, Thailand.

Aeesoh Yanya and Wilawan Mahabusarakum. (2008). Prenylated flavonoids

          from the bark of Artocarpus elasticus. Poster session present at The 6th 

          Regional IMT-GT UNINET Conference, Penang, Thailand.

   6.3 หนังสือ/เอกสารทางวิชาการ

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2557). เอกสารประกอบการสอนวิชาเคมีทั่วไป 1. พิมพ์ครั้งที่ 1.

           ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2556). คู่มือปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. ยะลา: มหาวิทยาลัย

           ราชภัฏยะลา

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2556). เอกสารประกอบการวิชาสเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์.

           พิมพ์ครั้งที่ 1. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

อาอีเซาะส์ เบ็ญหาวัน. (2555). คู่มือปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. ยะลา:   

           มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

 

7. ประสบการณ์ทางวิชาการ

   7.1 ประสบการณ์การสอน

       7.1.1  ระดับปริญญาตรี 3 ปี

 ชื่อวิชา เคมีทั่วไป 1    3(3-0-6) นก.
 ชื่อวิชา ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1  1(0-3-0) นก.
 ชื่อวิชา ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2  1(0-3-0) นก.
 ชื่อวิชา สเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์  3(3-0-6) นก.
 ชื่อวิชา หลักเคมี   3(3-0-6) นก.
 ชื่อวิชา เคมีอินทรีย์ 1    3(3-0-6) นก.
 ชื่อวิชา ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1   1(0-3-0) นก.
 ชื่อวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต  2(1-2-3) นก.
 ชื่อวิชา ความปลอดภัยทางเคมี    2(2-0-4) นก.
 ชื่อวิชา เคมีสะอาด       2(2-0-4) นก.

 

7.2  ระดับปริญญาโท – ปี

         ไม่มี

แกลเลอรี่