หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา (ค.บ.)
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ดร.ปรีชา พังสุบรรณ

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา

ชื่อ – สกุล  นายปรีชา  พังสุบรรณ

ตำแหน่งทางวิชาการ  อาจารย์

สังกัด คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

1. ประวัติการศึกษา  

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาเอก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ปร.ด.

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

2562

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ค.อ.ม.

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2548

ปริญญาตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ค.อ.บ.

วิศวกรรมไฟฟ้า

2540

 

2. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
   (ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)

 

   2.1   ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)

          2.1.1  ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง

          2.1.2  ตำรา หนังสือ

          2.1.3  บทความทางวิชาการ

                   2.1.3.1  ในวารสารทางวิชาการ

                   2.1.3.2  ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

                   2.1.3.3  ใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                              ประเมินและตรวจสอบ

   2.2   ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

          2.2.1  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ (ไม่มี)

          2.2.2  บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
                  
ปรีชา พังสุบรรณ. (2558). แนวคิดการประเมินเชิงดุลยภาพกรีนไอที. การอาชีวะและ
                             เทคนิคศึกษา, 5(9) : 6-18.

                   ปรีชา พังสุบรรณ และคณะ.  (2559).  การประเมินโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

                   ปรีชา พังสุบรรณ และเดชา  หนูมณี.  (2550).  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

                   ปรีชา พังสุบรรณ, สุรศักดิ์  ทิพย์พิมล, และมณีนุช  มุ่งหมาย.  (2550).  การพัฒนาองค์ประกอบของแมมโบสำหรับบริหารเว็บไซต์สถานศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

                  ปรีชา พังสุบรรณ, สุรศักดิ์  ทิพย์พิมล, และมณีนุช  มุ่งหมาย.  (2548).  ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร.  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

                  ปรีชา พังสุบรรณ.  (2547).  การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามและประเมินผลผู้สำเร็จการศึกษาสถาบันราชภัฏยะลา.  วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี        สารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

                  ปรีชา พังสุบรรณ และ สมยศ สีจันเฟื้อ.  (2539).  บอร์ดแสดงสภาวะการทำงานของสถานีแม่ข่ายเซลลูลาร์ 800. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน    เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

                  Pangsuban P., Nilsook P. and Wannapiroon P.  (2020).  “A Real-time Risk Assessment for Information System with CICIDS2017 dataset using Machine Learning.”  International Journal of            Machine Learning and Computing. vol. 10, no. 3: 465-470.

                  Pangsuban P., Nilsook P. and Wannapiroon P. (2015). “Systems Analysis of Risk Assessment for Moodle Learning in a LAMP Environment from Log Files.”  In The sixth International e-Learning  Conference 2015 (IEC2015), July 20-21, 2015, Bangkok, Thailand, 211-216.

          2.2.3  บทความวิจัยใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการ
                   ประเมินและตรวจสอบ

อิมรอน แวมง, มูนีเร๊าะ ผดุง, พรรณี แพงทิพย์, ศิริชัย นามบุรี และปรีชา พังสุบรรณ. (2559). การศึกษาแนวโน้มความต้องการหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 วันที่ 19 -20 ธันวาคม 2559  (หน้า 1655-1664). นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

   2.3   ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

          2.3.1  สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์

          2.3.2  ผลงานด้านศิลปะ

          2.3.3  สารานุกรม

          2.3.4  งานแปล

 

   2.4   ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

 

3.  ประสบการณ์สอน

    3.1  ระดับปริญญาตรี 18 ปี

            3.1.1  ระดับปริญญาตรี 18 ปี

4112319 การสื่อสารข้อมูล                                               3 (2-2-5) นก.

4112322 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์                3 (2-2-5) นก.   

4112387 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา                           3 (2-2-5) นก.   

            3.1.2  ระดับปริญญาโท (ไม่มี)