หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

อาจารย์พูรกอนนี มูซอ

  1. อาจารย์ประจำหลักสูตร   หลักสูตรจุลชีววิทยา สาขาวิชาชีววิทยา
  2. ชื่อ – สกุล                        นางสาวพูรกอนนี   มูซอ
  3. ตำแหน่งทางวิชาการ       อาจารย์
  4. สังกัด                         คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
  5. ประวัติการศึกษา

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาโท

Aligarh Muslim University ประเทศอินเดีย

Ms.c.

Agricultural  Microbiology

2556

ปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา

วท.บ.

ชีววิทยาประยุกต์

2553

  1. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง 

(ตามประกาศก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ) 

6.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี) 

6.1.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง  

6.1.2 ตำรา หนังสือ 

6.1.3 บทความทางวิชาการ  

6.1.3.1 ในวารสารทางวิชาการ  

6.1.3.2 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ  

6.1.3.3 ใน Proceedings ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ  

6.2 ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด 

6.2.1  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ 

Safkolam, R., Madahae, S. and Saleah, P. (2024). The effects of inquiry-based learning activities to understand the nature of science of science    student teachers. International Journal of Instruction. 17(1):  479-496.

Safkolam, R. Nuangchalerm, P., El Islami, R. A. Z. and Saleah, P. (2023). Students’ Understanding of Nature of Science in Islamic private school, Jurnal Pendidikan Islam. 9(1): 1-14.

6.2.2  บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ  (ไม่มี) 

6.2.3  บทความวิจัยใน Proceedings ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

ซาสวานี อิแต,  ฟาดีละห์ เต๊ะมาลอ และพูรกอนนี มูซอ. (2566). ฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphylococcus  aureus ของผลิตภัณฑ์เจลจากสารสกัดหยาบใบสาบเสือ. ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 8 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2566 (หน้า 377-382). ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อาซีฟะ สาแม็ง, โรซวรรณา เซพโฆลาม และพูรกอนี สาและ. (2564). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 31 วันที่ 20-21 พฤษภาคม 2564. (หน้า 1901-1908). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สุไรญา หมะดอหะ, นุรมา มามุ  และ พูรกอนนี สาและ. (2563). การแพร่กระจายของแบคทีเรียทั้งหมด และ Staphylococcus aureus. ในซูชิ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 5 วันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2563 (หน้า 1874-1882). สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

6.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี) 

6.3.1 สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์  

6.3.2 ผลงานด้านศิลปะ 

6.3.3 สารานุกรม 

6.3.4 งานแปล 

6.4 ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี) 

7. ประสบการณ์สอน

7.1  ระดับปริญญาตรี 5 ปี

  • จุลชีววิทยา                                                              3 (3-0-6)  นก.
  • ปฏิบัติการจุลชีววิทยา                                               1 (0-3-2)  นก.
  • เทคโนโลยีชีวภาคเบื้องต้น                                        3 (3-0-6)  นก.
  • ไวรัสวิทยา                                                              3 (2-3-6)  นก.
  • อนุกรมวิธานของจุลินทรีย์                                         3 (3-0-6)  นก.
  • ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป                                           1 (0-3-0)  นก.
  • ชีวเคมีจุลินทรีย์                                                        3 (2-2-5)  นก.  
  • ภาษาอังกฤษสำหรับนักชีววิทยาศาสตร์                       2 (1-2-3)  นก.       
  • ราวิทยา                                                                   3 (3-0-6)  นก.
  • ปฏิบัติการราวิทยา                                                    1 (0-3-0)   นก.
  • ชีววิทยา                                                                  3 (3-0-6)   นก.
  • ปฏิบัติการชีววิทยา                                                   1 (0-3-0)    นก.
  • ชีววิทยาสำหรับครู                                                    3 (3-0-6)    นก.
  • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ                                                 3 (3-0-6)     นก.
  • โครงงานและกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์                       2 (1-2-3)     นก.
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม                                           3 (3-0-6)  นก.
  • ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน                       2 (1-2-3)  นก.
  • สะเต็มศึกษา                                                           2(1-2-3) นก.

 

แกลเลอรี่