หลักสูตรจุลชีววิทยา/จุลชีววิทยาทางการเเพทย์เเละอุตสาหกรรม
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

ข้อมูลนักศึกษา(ตั้งแต่ปีการศึกษาที่รับเข้า ถึงปีการศึกษาที่ต้องรายงาน)

ข้อมูลนักศึกษา(ตั้งแต่ปีการศึกษาที่รับเข้า ถึงปีการศึกษาที่ต้องรายงาน)

ปีการศึกษาที่รับเข้า/จำนวนนักศึกษาคงอยู่

2555

2556

2557

2558

2559

ร้อยละ

2555

39

35

34

34

3

6.12

2556

-

42

27

26

26

57.78

2557

-

-

39

34

33

84.62

2558

-

-

-

36

30

78.95

2559

-

-

-

-

39

100.00

 

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อจำนวนนักศึกษา

จำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ ณ สิ้นปีการศึกษา .....39....... คน

เมื่อพิจารณาถึงจำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ พบว่า จำนวนนักศึกษาในแต่ปีการศึกษามีจำนวนลดลง ทั้งนี้ มาจากสาเหตุหลายประการ เช่น การแข่งขันทางการศึกษาสูงขึ้น นักศึกษาเปลี่ยนสาขาวิชาสำหรับ ผลการเรียนไม่ดีจึงลาออก และนักศึกษาบางคนลาออกไปสมรส สำหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2557 มีนักศึกษาเสียชีวิตจำนวน 1 คน  

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษาที่เริ่มใช้หลักสูตรถึงปีการศึกษาที่ต้องรายงาน)

ปีการศึกษาที่รับเข้า

2558

2559

2560

2562

2563

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา

ร้อยละ

2555

10

31.25

19

59.38

-

-

-

-

-

-

2556

-

-

11

42.30

-

-

-

-

-

-

2557

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2558

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2559

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

หมายเหตุ  การคิดอัตราส่วนผู้สำเร็จการศึกษาเทียบจำนวนผู้สำเร็จการศึกษากับจำนวนนักศึกษาที่คงอยู่ของ  ปีการศึกษาที่รับเข้า

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา

หลักสูตรจุลชีววิทยา มีจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนด (4 ปี)  ไม่เป็นไปตามจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าในปีแรก เมื่อพิจารณาเฉพาะจำนวนที่สำเร็จการศึกษาจะตรวจสอบได้เฉพาะนักศึกษารหัส 54 -56   เนื่องจากนักศึกษา รหัส 57-59  ยังไม่สำเร็จการศึกษา นักศึกษารหัส 54 ที่สำเร็จการศึกษาเมื่อสิ้นปีการศึกษา 2557 สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลา มีจำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 แต่สำเร็จเมื่อสิ้นปีการศึกษา 2558 ทั้งสิ้น 26 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักศึกษารหัส 55 ที่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลา มีจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 29.4 สำเร็จปีการศึกษา 2559  จำนวน 19 คน และอีก 3 คนยังไม่สำเร็จ เนื่องจาก 1 คนเกรดเฉลี่ยสะสมรวมทั้งหมดไม่ถึง 2.00 จึงจำเป็นต้องลงเรียนซ้ำอีกหนึ่งรายวิชาเพื่อเพิ่มเกรดเฉลี่ย ส่วนอีก 1 คน ติด E ในรายวิชาสถิติเพื่อการวิจัยเบื้องต้น จึงยังไม่สำเร็จการศึกษา นักศึกษารหัส 56 ที่สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลา มีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 42.3 และที่ยังไม่สำเร็จการศึกษาอีก 16 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54 เมื่อวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษาพบว่าปัจจัยที่สำคัญคือ การเรียนรายวิชาวิจัยเฉพาะทางจุลชีววิทยา นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาดังกล่าวในปีสุดท้าย  และเรียนด้วยการทำวิจัยในเรื่องที่สนใจ  โดยมีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ เป็นที่ปรึกษา  ไม่เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด   ทำให้นักศึกษาส่วนหนึ่งต้องถอน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1  คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ข้อมูลพื้นฐาน

จำนวน

จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด

9

คะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5)

4.29

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมด

37

 

หมายเหตุ  - จำนวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนบัณฑิตที่ได้รับการศึกษา
              - ใช้ข้อมูลบัณฑิตที่จบการศึกษาในปีการศึกษา 2558 และสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตใน     ปีการศึกษา 2559

ผลการดำเนินงาน        

          การสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 5 ด้าน แสดงดังตาราง  และความพึงพอใจรวมที่สะท้อนคุณลักษณะเด่นตามอัตลักษณ์มีค่าเฉลี่ยเป็น 4.06±0.09 ในปีการศึกษา 2558  โดยหลักสูตรมีบัณฑิต  37  คน และมีบัณฑิตที่ได้รับการประเมินจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 24.32 โดยมีผลการประเมินดังนี้

ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

ค่าเฉลี่ย

ระดับความพึงพอใจ

1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม

4.58±0.13

มากที่สุด

2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ

4.11±0.09

มาก

3. ด้านทักษะทางปัญญา

4.14±0.08

มาก

4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

4.64±0.06

มากที่สุด

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี

3.94±0.11

มาก

ค่าเฉลี่ย

4.28±0.57

มาก

 คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่  1.00-1.50     หมายถึง          มีความพึงพอใจน้อยที่สุด

รายการหลักฐาน

2.1-1 รายงานสรุป ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปีการศึกษา 2558

2.1-2 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

 

ผลการประเมินตนเอง

คะแนนการประเมินตนเอง

เหตุผล

....4.29...คะแนน

คะแนนค่าเฉลี่ยรวมจากแบบประเมินของผู้ใช้บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2  ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

(สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี)

วันที่สำรวจ 16 มิถุนายน 2560

ข้อมูลพื้นฐาน

จำนวน

จำนวนบัณฑิตทั้งหมด

37

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา

36

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำภายใน 1 ปีหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ)

15

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ

13

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว

-

หมายเหตุ   - จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสำรวจจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

                - ใช้ข้อมูลบัณฑิตที่จบการศึกษาในปีการศึกษา 2558 ซึ่งมีการสำรวจภาวะการมีงานทำ                ในปีการศึกษา 2559

ผลการดำเนินงาน

บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558 มีจำนวน 37 คน  มีผู้ตอบแบบสอบถามภาวะการมีงานทำทั้งสิ้น 36 คน คิดเป็นร้อยละ 97.30   จากการสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558 พบว่า จำนวนบัณฑิตที่มีงานทำ จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 77.78 ของจำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม  หากจำแนกประเภทของงานพบว่าบัณฑิตทำงานในหน่วยงานของรัฐ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 7.69  ทำงานในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.85  ทำงานบริษัท/องค์กรธุรกิจเอกชนจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77  และประกอบอาชีพอิสระจำนวน 13  คน คิดเป็นร้อยละ 50  ในประเด็นด้านความพอใจต่องานที่ทำ พบว่า นักศึกษาร้อยละ 84.62 พึงพอใจต่องานที่ทำ ส่วรรายวิชาที่ควรเพิ่มความรู้ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพมากที่สุดคือ รายวิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 29.25

 

รายการหลักฐาน

2.2-1 รายงานภาวะการมีงานทำของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2558

การวิเคราะห์ผลที่ได้

ตารางแสดงการวิเคราะห์แนวโน้มของการมีงานทำภายใน 1 ปีหลังสำเร็จการศึกษา ตั้งแต่ปี 2556-2558 พบว่า จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น  นอกจากนั้น หากจำแนกประเภทของงานพบว่าบัณฑิตส่วนใหญ่ทำงานบริษัท/องค์กรธุรกิจเอกชนจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77  และนักศึกษาร้อยละ 84.62 พึงพอใจต่องานที่ทำ ส่วรรายวิชาที่ควรเพิ่มความรู้ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพมากที่สุดคือ รายวิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 29.25

ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลนักศึกษาแต่ละปี (ร้อยละ)

 

ปี 2556

(n=26)

ปี 2557

(n=30)

ปี 2558

(n=36)

จำนวนบัณฑิตทั้งหมด

34

31

37

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสำรวจเรื่องการมีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา

26 (76.47)

30 (96.74)

36

 (97.30)

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำภายใน 1 ปีหลังสำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ)

14 (53.85)

13 (43.33)

13

(36.11)

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ

2

(7.69)

8

(26.67)

12

(33.33)

จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทำก่อนเข้าศึกษา

-

-

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา

-

-

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่อุปสมบท

-

-

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่เกณฑ์ทหาร

-

-

-

จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว

-

-

-