มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

ผศ.ดร.มูนีเร๊าะ ผดุง

บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

  1. มูนีเร๊าะ ผดุง และ เสาวนีย์ ดือราแม. (2562, กันยายน-ธันวาคม). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนที่ใช้ภาษามลายูถิ่นเป็นภาษาแม่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 14(3) : 318-327.

บทความวิจัยใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

  1. นูรีซา เจ๊ะมามะ ยามีลา อาแซ และ มูนีเร๊าะ ผดุง. (2562).  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดในการพัฒนาหนังสือรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 446-453). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
  2. อับดุลการีม มะดีเยาะ และ มูนีเร๊าะ ผดุง. (2562). การพัฒนา แอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 1133-1141). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
  3. ฟิตรี โตะกือจิ โซฟียา เปาะจิ อัสมะ มะเร๊ะ และมูนีเร๊าะ ผดุง. (2561). การพัฒนาหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน EPUB 3 เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมการใช้โซเชียลมีเดียสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 3 วันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (หน้า 376-383). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
  4. สารีนา อุมา ธวัชชัย ปราณขำ และมูนีเร๊าะ ผดุง. (2560). การพัฒนาหนังสือเสริมเทคโนโลยีเสมือนผสานโลกจริง เรื่อง พยัญชนะไทย สำหรับนักเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน การประชุมวิชาการราชภัฏวิชาการ 2560 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (หน้า 31-38). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
  5. ธวัชชัย ปราณขำ สารีนา อุมา และมูนีเร๊าะ ผดุง. (2559). หนังสือเสริมบทเรียนด้วยเทคโนโลยีเสมือนผสานโลกจริงเพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือสำหรับนักเรียนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติปัญญาภิวัฒน์ ครั้งที่ 6 วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (หน้า 85-94). นนทบุรี : สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.
  6. อิมรอน แวมง มูนีเร๊าะ ผดุง พรรณี แพงทิพย์ ศิริชัย นามบุรี และปรีชา พังสุบรรณ. (2559). การศึกษาแนวโน้มความต้องการหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับ ชาติเครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 วันที่ 19-20 ธันวาคม พ.ศ.2559 (หน้า 1655-1664). นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
  7. Phadung, M., Wani, N. and Tongmnee, N. (2017). The Development of AR Book for Computer Learning. In The International Conference on Research, Implementation and Education of Mathematics and Science (ICRIEMS) on 15th-17th May 2017 (pp. 050034-1-050034-5). Yogyakarta, Indonesia : Yogyakarta State University.
  8. Balakrishnan, L., Phadung, M., Virtanen, S., Isoaho, J., Poudel, D. P. and Isoaho, J. (2016). Dimensions of Internet Use and Threat Sensitivity: An Exploratory Study among Students of Higher Education. In The 2016 IEEE International Conference on Computational Science and Engineering (CSE) and IEEE International Conference on Embedded and Ubiquitous Computing (EUC) and 15th Intl Symposium on Distributed Computing and Applications for Business Engineering (DCABES) on 24th-26th August 2016 (pp. 534-541). Paris, France : IEEE.
  9. Dermrach, P., Phadung, M., Meechaichana, Ch., Meechai, E., and Yusuf, A. (2016). The Study of the Readiness for Entering the ASEAN Community of Undergraduate Students. In The Asian Conference on Asian Studies 2016 on 2nd-5th June 2016 (pp. 131-136). Kobe, Japan : The International Academic Forum.
  10. Phadung, M. (2016). Design and Development of Mobile App for Language Learning. In The Asian Conference on Asian Studies 2016 on 2nd-5th June 2016 (pp. 159-163). Kobe, Japan : The International Academic Forum.
  11. Phadung, M. (2015). Interactive E-Book Design and Development to Support Literacy Learning for Language Minority Students. In World Congress on Sustainable Technologies (WCST-2015) on 14th-16th December 2015 (pp.95-97). London, United Kingdom : IEEE.