หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
แขนงอนามัยสิ่งแวดล้อม และ แขนงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

นักวิชาการสาธารณสุข นักวิชาการสุขาภิบาล นักอนามัยสิ่งแวดล้อม หรือนักวิชาการสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานของราชการ ได้แก่

  1. กระทรวงสาธารณสุข
    1. กรมอนามัย
  • สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม (ส่วนกลาง)
  • สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ (ส่วนกลาง)
  • กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (ส่วนกลาง)
  • ศูนย์อนามัย (ส่วนภูมิภาค)
    1. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด
    2. โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลจังหวัด/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
    3. กรมควบคุมโรค
  • สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (ส่วนกลาง)
  • สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (ส่วนภูมิภาค)
  1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • กรมควบคุมมลพิษ (ส่วนกลาง)
  • กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ส่วนกลาง)
  • สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ส่วนกลาง)
  • สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ส่วนกลาง)
  • สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค (ส่วนภูมิภาค)
  • สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ส่วนภูมิภาค)
  1. กระทรวงอุตสาหกรรม
  • กรมโรงงานอุตสาหกรรม (ส่วนกลาง)
  • สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด (ส่วนภูมิภาค)
  1. กระทรวงมหาดไทย
    1. สำนักงานเทศบาลนคร/เมือง
  • ศูนย์บริการสาธารณสุข (เทศบาล)
  • สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (เทศบาล)
    1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  1. กรุงเทพมหานคร
  • สำนักอนามัย
    • สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
    • กองสุขาภิบาลอาหาร
  • สำนักสิ่งแวดล้อม
    • สำนักงานจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    • กองกำจัดมูลฝอย
    • กองจัดการคุณภาพอากาศ และเสียง
  • สำนักงานเขต
  • ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง
  • ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง
    1. นักวิชาการสิ่งแวดล้อมหรือผู้ควบคุมระบบในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
  • การประปานครหลวง
  • การประปาส่วนภูมิภาค
  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
  • องค์การจัดการน้ำเสีย
    1. ผู้ปฏิบัติงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพ หรือนักวิชาการสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานเอกชน
  • บริษัทที่ปรึกษา
  • มูลนิธิทางด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • ผู้ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสีย และสิ่งแวดล้อมโรงงานอุตสาหกรรม
  • นักพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม (NGO)
  • นักวิจัยอิสระ/นักวิชาการอิสระ  ฯลฯ
  • นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการทางด้านสิ่งแวดล้อม
  • บริษัทที่ปรึกษาและให้การรับรองระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
    1. นักวิชาการสิ่งแวดล้อมในองค์การมหาชน
  • สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
  • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
  • สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

          8.5 นักวิจัยในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน

          8.6 หน่วยงานอื่น ๆ ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย องค์การระหว่างประเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

          8.7 อาชีพอื่น ๆ เช่น ประกอบการธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดตั้งบริษัทที่ปรึกษาด้านประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ด้านการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับงานสุขาภิบาลอาหาร สุขาภิบาลน้ำดื่ม เป็นต้น

8.8 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในภาคเอกชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ ผู้ตรวจประเมินหรือที่ปรึกษาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม

8.9 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ นักวิชาการสาธารณสุข
นักอาชีวอนามัย นักวิชาการแรงงาน

8.10 การประกอบอาชีพลักษณะอื่นๆ ได้แก่ ผู้ประกอบการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นต้น