มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

รศ.ดร.ลิลลา อดุลยศาสน์

อาจารย์ประจำหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์

ชื่อ – สกุล     ดร.ลิลลา อดุลยศาสน์

ตำแหน่งทางวิชาการ     ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สังกัด     คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร

1. ประวัติการศึกษา  

ระดับการศึกษา

สถาบันการศึกษา

คุณวุฒิ

สาขาวิชา

พ.ศ.

ปริญญาเอก

Universiti Sains Malaysia

Ph.D.

Mathematics Education

2559

ปริญญาโท

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

กศ..

คณิตศาสตร์

2549

ปริญญาตรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

..

คณิตศาสตร์

2545

 

2. ผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
   (ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ)

2.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)

2.1.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง

2.1.2 ตำรา หนังสือ

2.1.3 บทความทางวิชาการ

2.1.3.1 ในวารสารทางวิชาการ

2.1.3.2 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

2.1.3.3 ใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

2.2 ผลงานวิจัยและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด

2.2.1 บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

Adulyasas, L. (2018, October). Fostering Pre-Service Mathematics Teachers’ Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) through the Learning Community. Journal of Physics: Conference Series. 1(097) : 1-9.

Adulyasas, L. (2018, January-April). The Effects of Developing Mathematics Pre-service Teachers’ Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) on Mathematics Students’ Achievement. Journal of Yala Rajabhat University. 13(1) : 115-128.

2.2.2 บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

        (ไม่มี)

2.2.3 บทความวิจัยใน proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ

ลิลลา อดุลยศาสน์ และ กุลธิดา วาหะ. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องการแจกแจงความถี่ด้วยกราฟ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการบูรณาการเทคโนโลยีในชั้นเรียน ตามแนวคิดของ TPACK และ SAMR Model. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 13-23). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ลิลลา อดุลยศาสน์ และ อามีเนาะ มะมิง. (2562). การใช้แนวคิดของ TPACK และ SAMR Model เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน และจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 (หน้า 24-34). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ฟิรดาว เลาะ สุภา ยธิกุล และ ลิลลา อดุลยศาสน์. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการบวก และการลบเศษส่วน โดยใช้สื่อแท่งทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากในการจัดการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรียะลา จังหวัดยะลา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 3 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (หน้า 368-375). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อารีตา ฮูลูเจะหะ สารีปะห์ แมเราะดำ และลิลลา อดุลยศาสน์. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการบวกและการลบพหุนาม โดยใช้วิธีสอนแบบแอคทีฟเลิร์นนิ่ง (Active learning) ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อ.เมือง จ.ยะลา. ใน รายงานการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช วันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (หน้า 20-30). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ลิลลา อดุลยศาสน์ และ สุภา ยธิกุล. (2560). การพัฒนาความรู้ในการบูรณาการเทคโนโลยีกับวิธีสอนและเนื้อหาที่สอน (TPACK) ของนักศึกษาครูสาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.  ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 “สร้างสรรค์งานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่นคั่ง ยั่งยืน ในยุค Thailand 4.0”วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2560 (หน้า 1549-1561). ยะลา : มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.

ลิลลา อดุลยศาสน์ และ ภัทรพิชา แก้วสีขาว. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความวิตกกังวลในการสอนวิชาคณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของครูคณิตศาสตร์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ  ครั้งที่ 5 วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2559 (หน้า 776-786). ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อิสรามีน เวาะแม ไซนุง ระสิมะหะมิ สัลวา อาแวบือซา และ ลิลลา อดุลยศาสน์. (2559). การใช้กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมเจตคติที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในเขตพื้นที่ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 “คุณภาพผู้เรียน คุณภาพครู”  วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 (หน้า 43-50). นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

Adulyasas, L&Abdulrahman,S2015Shifting Studentss Awareness of Geometrical Concepts through Lesson StudyIn The Proceeding of the 2nd International Conference on Research Implementation and Education of Mathematics and Science on 17th-19th May 2015 (pp. ME249-ME256). Yogyakarta, : Yogyakarta State University.

(2558). เทคนิคสอนเสริมวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกม เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักเรียน. ใน  รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 “การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน” วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 (หน้า 664-672). ยะลา : มหาวิทยาลัยฟาฏอนี.

2.3 ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

2.3.1 สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์

2.3.2 ผลงานด้านศิลปะ

2.3.3 สารานุกรม

2.3.4 งานแปล

2.4 ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)

3. ประสบการณ์สอน

    3.1  ระดับปริญญาตรี 10 ปี

ชื่อวิชา    แคลคูลัส 1

ชื่อวิชา    คณิตวิเคราะห์

ชื่อวิชา    ทฤษฎีเซต

ชื่อวิชา    พีชคณิตเชิงเส้น

ชื่อวิชา    พีชคณิตนามธรรม1

ชื่อวิชา    สำรวจเรขาคณิต

ชื่อวิชา    ภาษาอังกฤษสำหรับครูคณิตศาสตร์

ชื่อวิชา    การสอนคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต

หน่วยกิต