Rajabhat YaLa University YaLa Thailand
Faculty of Science Technology and Agriculture

รศ.ดร. อับดุลนาเซร์ ฮายีสาเมาะ

 

ประวัติผู้วิจัย

1. ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) รองศาสตราจารย์ ดร. อับดุลนาเซร์ ฮายีสาเมาะ

                     (ภาษาอังกฤษ) Assoc. Prof. Dr. Abdulnaser Haji Samoh

 

2. ตำแหน่งวิชาการ/ประสบการณ์ด้านการบริหาร

 

รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาเคมี  2556 – ปัจจุบัน

 

กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้แทนคณบดี 2558-2560

 

กรรมการบริหารบุคคลมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2558-2560

 

กรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร 2560 – ปัจจุบัน

 

กรรมการประจำสถาบันวิจัยและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2560 – ปัจจุบัน

 

คณบดีคณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2556-2560

 

ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะ/สถาบัน (บัญชี สกอ) 2556 – ปัจจุบัน

ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ฝ่ายการต่างประเทศ 2561-ปัจจุบัน

                

3.  สถานที่ทำงาน สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

                       อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทรศัพท์ 0848557084 แฟกซ์ 073212108

                       E-mail: [email protected]

4. วุฒิการศึกษา  

ระดับ

สาขา

มหาวิยาลัย

ประเทศ

ปริญญาตรี (วท.บ.)

ปริญญาโท (วท.ม.)

ปริญญาเอก (Ph. D.)

เคมี

เคมีศึกษา

Org. Chem.

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

University of Science Malaysia

ไทย

ไทย

มาเลเซีย

 

 

5. วิชาที่สอนหรือเชียวชาญในการสอน

           1. เครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี (Chemical Instrumentation)

             2. เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)

             3. เคมีสะอาด (Green Chemistry)

 

 

 

6. แต่งเรียบเรียงหนังสือ ตำรา เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอนในสาขาวิชาเคมีรวม 13 เล่ม

            1. เคมีเชิงฟิสิกส์ 1

            2. ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1

            3. การวิเคราะห์โดยเครื่องมือ 1

            4. ปฏิบัติการวิเคราะห์โดยเครื่องมือ 1

           5. เคมีเชิงฟิสิกส์ 2

            6. ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 2

            7. เคมีสิ่งแวดล้อม

            8. ปฏิบัติการเคมีสิ่งแวดล้อม

            9. การวิเคราะห์โดยเครื่องมือ 2

           10. ปฏิบัติการวิเคราะห์โดยเครื่องมือ 2

           11. เคมีอนินทรีย์

           12. การวิเคราะห์โดยเครื่องมือทางสเปกโทรสโกปี

          13. เคมีสะอาด

 

7.  งานวิจัยที่สนใจ/สาขาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ

        1.  Green nanochemistry of medicinal plant and its application in chemical and textile fabrication.

        2. Assessment of persistent toxic substances (PTSs) in various environmental compartments.

        3. Human health risk assessment of PTSs through daily dietary intake.

        4. Natural reagent for teaching and learning in analytical chemistry laboratory.

        5. Natural product Chemistry/herbal and medicinal plant

 

8. ผลงานวิจัยที่ผ่านมา  

ที่

ชื่อเรื่องวิจัย

แหล่งทุน

1

การวิเคราะห์คุณลักษณะทางเคมีและกายภาพบางประการของน้ำบาดาลในสถาบันราชภัฏยะลา

สถาบันราชภัฏยะลา

บกศ. ปี 2543

2

การวิเคราะห์โลหะปริมาณน้อยในใบชาโดยวิธีเทคนิค AAS  

สถาบันราชภัฏยะลา

บกศ. ปี 2544

3

การศึกษาปริมาณทองแดง ตะกั่ว และแคดเมียมในปลาทูจากตลาดสดเทศบาลนครยะลา

สถาบันราชภัฏยะลา

บกศ. ปี 2544

4

Assessment of Hydrocarbon Pollutions on Coastal Environments by Petroleum Processing activities in Bintulu, Malaysia.

  Research Grant  2005  (Shell fund)

5

การตรวจวิเคราะห์สารมลพิษอินทรีย์คงทนในผลิตภัณฑ์อาหารบางชนิดที่จำหน่ายในจังหวัดยะลา

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา บกศ. ปี 2550

6

 การปนเปื้อนของสารมลพิษอินทรีย์คงทนในแม่น้ำสายหลักของจังหวัดชายแดนภาคใต้

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2551

7

 

การศึกษาปริมาณและองค์ประกอบหลักทางเคมีในน้ำส้มควันไม้จากไม้ยางพารา

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2552

8

การกระจายตัวของสารบิวธิลทินในน้ำและสัตว์น้ำบางชนิดบริเวณพื้นที่ท่าเรือประมงหลักในจังหวัดชายแดนภาคใต้

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2554

9

วิทยาศาสตร์บูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสุขภาพและชุมชนในการศึกษาด้านองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดหยาบจากยอดฝรั่ง    

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. (สกอ)

ปี 2554 

10

ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคที่เรียก่อโรคทางเดินอาหารจากสารสกัดพืชสมุนไพรท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม./บก.ศ. ปี 2557

11

การใช้ประโยชน์ของสารสกัดผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการสอนวิชาปฏิบัติการทางเคมี

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2558

12

การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสสำหรับหมี่เบตงกึ่งสำเร็จรูป

(ผู้รวมวิจัย)

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2558

13

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแขกเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านท่าสาป (ผู้รวมวิจัย)

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2560

14

การพัฒนาน้ำจิ้มไก่จากส้มแขก (ผู้ร่วมวิจัย)

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา งปม. ปี 2560

 

 

9. ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 

1. Hajisamoh, A., Toybah Alikahir, Nawawi Lebaehamad and Kumariah Teh. (2009). Contamination levels of POPs in various Food Items from Southernmost of Thailand; primary health risk assessment through dietary intake. Malaysian Journal of Chemistry, vol.11, No. 1, pp. 14-18. http://www.ikm.org.my.

2. Hajisamoh, A. and Md Sani Ibrahim. (2009). Organochlorine Pesticide Residues in the Major Rivers of Southern Thailand. Journal of Environment Asia, vol.2, No.1 pp. 30-34. http://www.tshe.org/EA.

   3. Hajisamoh, A. (2008). Organochlorine Residues in Natural Inland Waters of Southernmost of Thailand. Malaysian Journal of Analytical Science, vol. 12, No.2, pp. 280-284. http://www.ukm.my/mja.

   4. Hajisamoh, A. (2013). Pollution Levels of 16 Priority PAHs in the Major Rivers of Southern Thailand. Res and Rev J of  Chem  2(1) 2013, pp. 7-11.

   5. Hajisamoh, A., Sosanae, S., Lemeahmad, N. and Abu, A. (2013). Application of    Solid Phase Extraction Cleanup for the Determination of Pesticide Residues in Fresh Food Items Followed By GC-ECD. Res J of Pharm Biol Chem Sci, Vol 4, No. 2, pp. 22-27.

   6. Bushan Shakya, Sharmila Dangol, Muhamad Nur E Alam Siddique, Abd Naser HJ Samoh and Pawan Raj Shakya. (2017). Heavy Metals in Fine Particle Size Fractions from Roadside Dust of Kathmandu Metropolitan City; A Potential Urban Environmental Problem. Journal of Environment Science, Vol 3, No. 3, pp. 19-26.  

7.Hajisamoh, A. (2017). Contamination of Organotin Compounds in Coastal water of Southern Thailand. American J of  Marine Science , pp. xx-xx. In Publishing.

    8. Farhana Tarannum, Mohd Nur E Alam Siddique, M. Golam Mostafa, Kazi

             Mohammad Anamul Haque, Dilruba Akter, Uzma Khalil, Abd Naser HJ Samoh

             and Pawan Raj Shakya. (2018). Environmental Analysis of Metal Ions in Rice and Soil of Bangladesh. Journal of Environment Science, Vol 3, No. 1, pp. 10-17.  

 

10. ผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในการประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ Proceeding (2002-ปัจจุบัน)

    1. Hajisamoh, A. (2002). Method Development for the Determination of Hydrocarbons

           In Water and Sediment Samples. Malaysian Analytical Science Symposium

           Proceeding, September 10-12, 2002. Bay view Beach Hotel, Pulau Penang,

           Malaysia.

    2. Hajisamoh, A. Ibrahim, MS. And Saree, O. (2004). Monitoring of Persistent Organic Pollutants (POPs) in the Patani Bay. Malaysian Analytical Science Symposium Proceeding, Aug 24-26, 2004. Swiss Garden Resort & SPA, Kuantan, Pahang, Malaysia.

   3. Hajisamoh, A. And Saree, O. (2005). Determination of PAHs and OCPs in the Patani Bay Water Samples by Using SPE Technique. Proceeding of Annual Conference of Science and Social Science Research, Aug 19, 2005. Prince of Songkla University, Pattani, Thailand.

   4. Hajisamoh, A. And Ibrahim, MS. (2005). Assessment of Hydrocarbon Pollutions on Coastal Environments by Petroleum Processing Activities. Proceedings of The 18th Malaysian Analytical Science Symposium, Sept 12-14, 2005, Hyatt Regency Hotel, Johor Bharu, Malaysia.

   5. Md. Sani Ibrahim and Abdulnaser Hajisamoh. (2005). Level of Hydrocarbon Pollution in Sediment Samples from Bintulu “A report to shell Malaysia incorporated in an EIA report for Bintulu refinery annual assessment”

   6. Hajisamoh, A. (2006). Solid Phase Extraction of POPs in the Patani bay Water Samples. Conference on Science and Social Science Research on the Occasion of 70th YRU, Proceeding. Dec 5, 2006, Yala Rajabhat University, Yala , Thailand.

   7. Hajisamoh, A. And Ibrahim, MS.  (2007). Organochlorine Pesticide Residues in the Major Rivers of Southern Thailand. 12th Asian Chemical Congress Proceeding, pp 366-371. August 23-25, 2007. Putra World Trade Centre (PWTC), Kuala Lumpur, Malaysia.

   8. Hajisamoh, A., Nuanchan, N. and Mongmaksae, R. (2007). Determination of Polycyclic Aromatic Hydrocarbons in Water Samples from the Major Rivers of Southern Border Provinces. Proceeding of 33th Science and Technology Congress of Thailand, October18-20, 2007. Walailak University, NakonSri  Thamarath, Thailand.

   9. Hajisamoh, A., Adae, A., Alikahir, T., Lebaehamad, N. and Teh, K. (2008). A Survey of Persistent Organic Pollutants (POPs) in Various Food Items from the Southernmost of Thailand. Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2008) Proceeding, Jan 30-Feb 1, 2008. Sofitel Central Grand Hotel, Bangkok, Thailand.

   10. Hajisamoh, A., Ibrahim, S., and Phawthong, S. (2008). Levels and Distribution of PCBs and OCPs in Waters and Sediments from the Major River of the Southernmost of Thailand. Paper accepted for Poster Presentation at the 2nd Penang International Conference for Young Chemists (Penang ICYC) 2008. June 18-20, 2008. Universiti Sains Malaysia, Pulau Penang, Malaysia.

    11. Hajisamoh, A., Alikahir, T., Lebaehamad, N. and Teh, K. (2009). Contamination levels of POPs in Various Food Items from the Southernmost of Thailand: A primary Health Risk Assessment through Dietary Intake. Proceeding of 10ThAsian Conference on Analytical Sciences 2009 (AsianalysisX2009), August 11-13, 2009. Putra World trade Center (PWTC), Kuala Lumpur, Malaysia.  

    12. Hajisamoh, A., Abu, J and Saree, O. (2011). Determination of Pesticide Residues in Fresh Fruits and Vegetables by Solid Phase Extraction Cleanup Followed by GC-ECD. Paper accepted for ICAS2011, May 23-27, 2011.  Kyoto International Convention Center, Kyoto, Japan.

    13. Hajisamoh, A. (2011). Quantitative Analysis of 16 Priority PAHs in the Major Rivers of Southern Border Provinces of Thailand. Proceeding of 14ThAsian Chemical Congress (14ACC), September 5-7, 2011. Queen Sirikit Convention Centre, Bangkok, Thailand.  

    14. Hajisamoh, A., Sosanae, S., Lemeahmad, N. and Abu, A. (2012). Application of Solid Phase Extraction Cleanup for the Determination of Pesticide Residues in Fresh Food Items Followed By GC-ECD, Proceeding of Pure and Applied Chemistry International Conference 2012 (PACCON2012). January 11-13, 2012. International Convention Hall, the Empress Hotel, Chiang Mai, Thailand.  

    15. Hajisamoh, A. (2012). Contamination of Butyltin Compound in Coastal Water of Southern Thailand. Paper accepted for Poster Presentation at 17th MCC, October 15-17, 2012. Putra World Trade Center (PWTC), Kuala Lumpur, Malaysia.  

    16. Hajisamoh, A. (2013). Pollution Levels of Butyltin Compound in Coastal Water of Southern Thailand. Paper accepted for Poster Presentation to the 15th ACC, August 19-23, 2013. Resort World Sentosa, Singapore.  

    17. Hajisamoh, A. (2013). Distribution of TBT DBT and MBT in Coastal Water of Southernmost of Thailand. Paper accepted for Poster Presentation to the IUPAC World Chemistry Congress 2013, August 11-16, 2013, Istanbul, Turkey.

    18. วิภาดา มุนินทร์นพมาศ กมลทิพย์ กรรไพเราะ  จีรวุฒิ มุนินทร์นพมาศ อับดุลนาเซร์ ฮายีสาเมาะ และสุธีรา ศรีสุข (2558). การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปรุงรสพริกไทยดำของหมี่เบตงกึ่งสำเร็จรูป. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือมหาวิทยาลัยฟาฏอนี  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งที่ 4 วันที่ 5 สิงหาคม 2558. นราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

    19. Hasan Dopo, Pateeroh Kuwae, Anugrah Ricky Wijaya and Abd Naser Hj Samoh. (2018X. Effect of sample preparation on the composition of hydroxyapatite derived from waste anchovy fish bone. Peper submitted for the Pure and Applied Chemistry International Conference 2018 (PACCON2018), Februay 7-8, 2018 at the 60th Anniversary of the his majesty the King’s Accession to the throne International Convention Center (ICC), Prince of  Songkhla University (PSU), Hatyai, Thailand.

 

11. ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่โดยองค์กรระดับชาติและองค์กรวิชาการต่างประเทศ

   1. ศูนย์วิทยบริการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข: การวิเคราะห์หาโลหะในใบชาโดยวิธีอะตอมมิกแอบซอร์ปชัน ภูมิปัญญาราชภัฎ คอลัมน์ ข่าวประจำวันข่าวประจำวัน: 1 สิงหาคม 2548 [email protected]

   2. Digital Object Identifier (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วช) India Environment Portal Knowledge for Change, Center for Science and Environment, National Knowledge Commission: Organochlorine Pesticide Residues in the Major Rivers of Southern Thailand http://www.indiaenvironmentportal.org.in

   3. คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ PSU Knowledge Bank :

                   การสังเคราะห์ไทเทเนียมไดออกไซด์จากส่วนสกัดหยาบของแร่อิลเมไนต์ด้วยวิธีคลอริเนชั่น: Synthesis of titanium dioxide from crude extract of Ilmenite by chlorination method. Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/3031

 

12. ผลงานวิจัยที่ได้รับการยกย่องหรือรางวัลเชิดชูเกียรติที่ได้รับ

 1. โล่รางวัลนักวิจัยดีเด่น การวิจัยเฉพาะศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปี 2553

   2. โล่รางวัลนักวิจัยดีเด่นระดับชาติ การประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2554

   3. โล่รางวัลความดีแทนคุณแผ่นดิน สาขาวิจัยและพัฒนา มูลนิธิเพื่อสังคมไทย ประจำปี 2557

   4. เกียรติบัตรการนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในรูปแบบการพัฒนานักวิจัยใหม่คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร โครงการประกวดแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ปี 2557

   5. โล่รางวัลความดีแทนคุณแผ่นดิน สาขาบริหารการศึกษา มูลนิธิเพื่อสังคมไทย ประจำปี 2559

แกลเลอรี่